1 / 41

บทที่ 4

บทที่ 4. สื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนการสอน. ความสำคัญของสื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนการสอน.

jayme
Download Presentation

บทที่ 4

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 4 สื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนการสอน

  2. ความสำคัญของสื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนการสอนความสำคัญของสื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนการสอน • ในการพัฒนาสื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนการสอนให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพนั้น จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องศึกษาเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องเพื่อให้การสร้างสื่อสอดคล้องกับหลักการและทฤษฎี โดยเฉพาะด้านสื่อการเรียนรู้ ทฤษฎีทางการศึกษาจิตวิทยาการเรียนรู้ และในลักษณะเฉพาะของสื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนการสอน

  3. ทฤษฏีเกี่ยวกับสื่อการเรียนรู้ทฤษฏีเกี่ยวกับสื่อการเรียนรู้ • 1. การสื่อสารการเรียนรู้ การสื่อสาร หรือการสื่อความหมาย (Communication) หมายถึง การถ่ายทอดเรื่องราว การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น 1.1 การสื่อสารทางเดียว (One-Way Communication)เป็นการส่งข่าว สารหรือการสื่อ ความหมายไปยังผู้รับแต่เพียง ฝ่ายเดียวโดยที่ผู้รับไม่สามารถตอบสนอง 1.2 การสื่อสารสองทาง(Two-Way Communication)เป็นการสื่อสารหรือการสื่อความหมายที่ผู้รับมีโอกาสตอบสนองมายังผู้ส่งได้ในทันที โดยที่ผู้ส่งและผู้รับอาจจะอยู่ต่อหน้ากันหรืออาจอยู่คนละสถานที่ก็ได้ แต่ทั้งสองฝ่ายจะสามารถมีการเจรจาหรือการโต้ตอบกันไปมา

  4. คำถาม 1.การสื่อสารทางเดียว เป็นการสื่อสารแบบโต้ตอบกันไปมา ใช่หรือไม่ใช่ ใช่ ไม่ใช่ 2.การสื่อสารสองทาง เป็นสื่อทีผู้รับมีโอกาสตอบสนองมายังผู้ส่งได้ทันที โดยที่ผู้ส่งและผู้รับอาจจะอยู่ต่อหน้ากันหรืออาจอยู่คนละสถานที่ก็ได้ แต่ทั้งสองฝ่ายจะสามารถมีการเจรจาหรือการโต้ตอบกันไปมา ใช่หรือไม่ใช่ ใช่ ไม่ใช่

  5. เฉลย • 1.การสื่อสารทางเดียว เป็นการสื่อสารแบบโต้ตอบกันไปมา ใช่หรือไม่ใช่ ตอบ ไม่ใช่ 2.การสื่อสารสองทาง เป็นสื่อทีผู้รับมีโอกาสตอบสนองมายังผู้ส่งได้ทันที โดยที่ผู้ส่งและผู้รับอาจจะอยู่ต่อหน้ากันหรืออาจอยู่คนละสถานที่ก็ได้ แต่ทั้งสองฝ่ายจะสามารถมีการเจรจาหรือการโต้ตอบกันไปมา ใช่หรือไม่ใช่ ตอบ ใช่

  6. การเรียนรู้ในรูปแบบการสื่อสารทางเดียว เช่น การสอนแก่ผู้เรียนจำนวนมากในห้องเรียน ขนาดใหญ่ โดยการฉายวีดีทัศน์ โทรทัศน์วงจรปิด หรือวิทยุและโทรทัศน์การศึกษาแก่ผู้เรียนที่เรียนอยู่ที่บ้าน • การเรียนรู้ในรูปแบบการสื่อสารสองทาง อาจทำได้โดยการใช้อุปกรณ์ประเภทเครื่อง ช่วยสอน เช่น การใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หรือการใช้เครื่องช่วยสอน เนื้อหาจะถูกส่งจากเครื่องไปยังผู้เรียนเพื่อให้ผู้เรียนทำการตอบสนองโดยส่งคำตอบหรือข้อมูลกลับไปยังเครื่องอีกครั้งหนึ่ง

  7. ความหมายของสื่อการเรียนรู้ความหมายของสื่อการเรียนรู้ • "สื่อ" (Media) เป็นคำที่มาจากภาษาละตินว่า "medium" แปลว่า "ระหว่าง" หมายถึงสิ่งใดก็ตามที่บรรจุข้อมูลเพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับสามารถสื่อสารกันได้ตรงตามวัตถุประสงค์เมื่อมีการนำสื่อมาใช้ในกระบวนการเรียนการสอนก็เรียกสื่อนั้นว่า "สื่อการเรียนการสอน" (Instruction Media) หมายถึงสื่อชนิดใดก็ตามที่บรรจุเนื้อหาหรือสาระการเรียนรู้ ซึ่งผู้สอนและผู้เรียนใช้เป็นเครื่องมือสำหรับการเรียนรู้เนื้อหาหรือสาระนั้นๆ

  8. คำถาม • 3. การเรียนรู้ในรูปแบบการสื่อสารสองทาง อาจทำได้โดยการใช้อุปกรณ์ประเภทเครื่อง ช่วยสอน ใช่หรือไม่ใช่ ใช่ ไม่ใช่ • 4. "สื่อ" (Media) เป็นคำที่มาจากภาษาละตินว่า "medium" แปลว่า “ต้องการ" ใช่หรือไม่ใช่ ใช่ ไม่ใช่

  9. เฉลย • 3. การเรียนรู้ในรูปแบบการสื่อสารสองทาง อาจทำได้โดยการใช้อุปกรณ์ประเภทเครื่อง ช่วยสอน ใช่หรือไม่ใช่ ใช่ 4. "สื่อ" (Media) เป็นคำที่มาจากภาษาละตินว่า "medium" แปลว่า “ต้องการ" ใช่หรือไม่ใช่ ไม่ใช่

  10. ประเภทของสื่อการเรียนรู้ประเภทของสื่อการเรียนรู้ • สื่อการเรียนรู้สามารถจำแนกออกตามลักษณะได้เป็น 3 ประเภท คือ • 1. สื่อสิ่งพิมพ์หมายถึงหนังสือและเอกสารสิ่งพิมพ์ต่างๆที่แสดงหรือเรียบเรียงสาระความรู้ต่างๆโดยใช้ตัวหนังสือที่เป็นตัวเขียน หรือตัวพิมพ์ • 2. สื่อเทคโนโลยีหมายถึงสื่อการเรียนรู้ที่ผลิตขึ้นใช้ควบคู่กับเครื่องมือโสตทัศนวัสดุหรือเครื่องมือที่เป็นเทคโนโลยีใหม่ๆ • 3. สื่ออื่นๆนอกเหนือจากสื่อ 2 ประเภทที่กล่าวไปแล้วยังมีสื่ออื่นๆที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนซึ่งมีความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อเทคโนโลยี

  11. สื่อสิ่งพิมพ์และสื่อเทคโนโลยีสื่อที่กล่าวนี้ได้แก่สื่อสิ่งพิมพ์และสื่อเทคโนโลยีสื่อที่กล่าวนี้ได้แก่ • 1. บุคคลหมายถึงบุคคลที่มีความรู้ความสามารถความเชี่ยวชาญในสาขาต่างๆซึ่งสามารถถ่ายทอดสาระความรู้แนวคิดและประสบการณ์ไปสู่บุคคลอื่น • 2. ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหมายถึงสิ่งมีอยู่ตามธรรมชาติและสภาพสิ่งแวดล้อมรอบตัวผู้เรียน • 3. กิจกรรม / กระบวนการหมายถึงกิจกรรมหรือกระบวนการที่ผู้สอน • 4. วัสดุเครื่องมือและอุปกรณ์หมายถึงวัสดุที่ประดิษฐ์ขึ้นใช้เพื่อประกอบการเรียนรู้

  12. คำถาม • 5. สื่อการเรียนรู้สามารถจำแนกออกตามลักษณะได้เป็น 3 ประเภท ใช่หรือไม่ใช่ ใช่ ไม่ใช่ • 6.ความสำคัญของสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อเทคโนโลยีประกอบด้วย บุคคล ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กิจกรรมและกระบวนการ วัสดุเครื่องมือและอุปกรณ์ ใช่หรือไม่ใช่ ใช่ ไม่ใช่

  13. เฉลย • 5. สื่อการเรียนรู้สามารถจำแนกออกตามลักษณะได้เป็น 3 ประเภท ใช่หรือไม่ใช่ ใช่ • 6.ความสำคัญของสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อเทคโนโลยีประกอบด้วย บุคคล ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กิจกรรมและกระบวนการ วัสดุเครื่องมือและอุปกรณ์ ใช่หรือไม่ใช่ ใช่

  14. ทฤษฎีการเรียนรู้และจิตวิทยาการเรียนรู้ • กระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจากเดิมไปสู่พฤติกรรมใหม่ที่ค่อนข้างถาวร และพฤติกรรมใหม่นี้เป็นผลมาจากประสบการณ์หรือการฝึกฝน มิใช่เป็นผลจากการตอบสนองตามธรรมชาติหรือสัญชาตญาณ หรือวุฒิภาวะ หรือพิษยาต่างๆ หรืออุบัติเหตุ หรือความบังเอิญ พฤติกรรมที่เปลี่ยนไปจะต้องเปลี่ยนไปอย่างค่อนข้างถาวร

  15. ทฤษฎีการเรียนรู้ (Theory leaning) • การเรียนรู้เป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเดิมเป็นพฤติกรรมใหม่ที่ค่อนข้างถาวร อันเป็นผลมาจากประสบการณ์ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอาจมี 3 ด้าน เมื่อบุคคล เกิดการเรียนรู้ จะเกิดการเปลี่ยนแปลงดังนี้ • 1. การเปลี่ยนแปลงทางด้านความรู้ ความเข้าใจ และความคิด (Cognitive Domain) • 2. การเปลี่ยนแปลงทางด้านอารมณ์ ความรู้สึก ทัศนคติ ค่านิยม (Affective Domain) • 3. ความเปลี่ยนแปลงทางด้านความชำนาญ (Psychomotor Domain) ทฤษฎีการเรียนรู้ (Theory leaning)แบ่งได้ 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ 1. ทฤษฎีความต่อเนื่อง (Associative) คือการเรียนรู้โดยมีสิ่งเร้ามาเชื่อมโยง 2. ทฤษฎีความเข้าใจ (สนาม) ได้แก่ กฎการเรียนรู้ของกลุ่ม กลุ่มเกสตัลท์ (Gestalt Psychology) เป็นการเรียนรู้ที่เน้นส่วนรวมมากกว่าส่วนย่อย

  16. คำถาม • 7. การเปลี่ยนแปลงทางด้านความรู้ ความเข้าใจ และความคิด (Cognitive Domain) หมายถึง การเรียนรู้เกี่ยวกับเนื้อหาสาระใหม่ ก็จะทำให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ใช่หรือไม่ใช่ ใช่ ไม่ใช่ 8. . ทฤษฎีความต่อเนื่อง (Associative) คือการเรียนรู้โดยมีสิ่งเร้ามาเชื่อมโยง ทำให้เกิดการตอบสนองขึ้น แบ่งเป็น 4 กลุ่ม ใช่หรือไม่ใช่ ใช่ ไม่ใช่

  17. เฉลย • 7. การเปลี่ยนแปลงทางด้านความรู้ ความเข้าใจ และความคิด (Cognitive Domain) หมายถึง การเรียนรู้เกี่ยวกับเนื้อหาสาระใหม่ ก็จะทำให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ใช่หรือไม่ใช่ ใช่ 8. . ทฤษฎีความต่อเนื่อง (Associative) คือการเรียนรู้โดยมีสิ่งเร้ามาเชื่อมโยง ทำให้เกิดการตอบสนองขึ้น แบ่งเป็น 4 กลุ่ม ใช่หรือไม่ใช่ ไม่ใช่

  18. ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) • เป็นทฤษฎีซึ่งเชื่อว่าจิตวิทยาเป็นเสมือนการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ของพฤติกรรมมนุษย์ (Scientific Study of Human Behavior) และการเรียนรู้ของมนุษย์เป็นสิ่งที่สามารถสังเกตได้จากพฤติกรรมภายนอกนอกจากนี้ยังมีแนวคิดเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง (Stimuli and Response ) เชื่อว่าการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของมนุษย์จะเกิดขึ้นควบคู่กันในช่วงเวลาที่เหมาะสม

  19. สื่อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษาที่ออกแบบตามแนวคิดของทฤษฎีพฤติกรรมนิยมนี้จะมีโครงสร้างของบทเรียนในลักษณะเชิงเส้นตรง (Linear) โดยผู้เรียนทุกคนจะได้รับการนำเสนอเนื้อหาในลำดับที่เหมือนกันและตายตัวซึ่งเป็นลำดับที่ผู้สอนได้พิจารณาแล้วว่าเป็นลำดับการสอนที่ดีและผู้เรียนจะสามารถเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด

  20. คำถาม • 9. ทฤษฎีพฤติกรรมนิยมชื่อว่าจิตวิทยาเป็นเสมือนการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ของพฤติกรรมมนุษย์ใช่หรือไม่ใช่ ใช่ ไม่ใช่ • 10. สื่อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษาที่ออกแบบตามแนวคิดของทฤษฎีพฤติกรรมนิยมนี้จะมีโครงสร้างของบทเรียนในลักษณะเชิงเส้นอ้อม ใช่หรือไม่ใช่ ใช่ ไม่ใช่

  21. เฉลย • 9. ทฤษฎีพฤติกรรมนิยมชื่อว่าจิตวิทยาเป็นเสมือนการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ของพฤติกรรมมนุษย์ ใช่หรือไม่ใช่ ใช่ • 10. สื่อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษาที่ออกแบบตามแนวคิดของทฤษฎีพฤติกรรมนิยมนี้จะมีโครงสร้างของบทเรียนในลักษณะเชิงเส้นอ้อม ใช่หรือไม่ใช่ ไม่ใช่

  22. ทฤษฎีปัญญานิยม (Cognitivism) • เกิดจากแนวคิดของชอมสกี้ (Chomsky) ที่ไม่เห็นด้วยกับสกินเนอร์ (Skinner) บิดาของทฤษฎีพฤติกรรมนิยมในการมองพฤติกรรมมนุษย์ไว้ว่าเป็นเหมือนการทดลองทางวิทยาศาสตร์ชอมสกี้เชื่อว่าพฤติกรรมของมนุษย์นั้นเป็นเรื่องของภายในจิตใจมนุษย์ไม่ใช่ผ้าขาวที่เมื่อใส่สีอะไรลงไปก็จะกลายเป็นสีนั้นมนุษย์มีความนึกคิดมีอารมณ์จิตใจและความรู้สึกภายในที่แตกต่างกันออกไป

  23. ทฤษฎีโครงสร้างความรู้ (Scheme Theory) • ภายใต้ทฤษฎีปัญญานิยม (Cognitivism) นี้ยังได้เกิดทฤษฎีโครงสร้างความรู้ (Scheme Theory) ขึ้นซึ่งเป็นแนวคิดที่เชื่อว่าโครงสร้างภายในของความรู้ที่มนุษย์มีอยู่นั้นจะมีลักษณะเป็นโหนดหรือกลุ่มที่มีการเชื่อมโยงกันอยู่ในการที่มนุษย์จะรับรู้อะไรใหม่ๆนั้นมนุษย์จะนำความรู้ใหม่ๆ ที่เพิ่งได้รับนั้นไปเชื่อมโยงกับกลุ่มความรู้ที่มีอยู่เดิม (Pre-existing Knowledge) รูเมลฮาร์ทดาวิดและออโทนี่ (Rumelhart, David and Ortony. 1977) ได้ให้ความหมายของคำว่า“โครงสร้างความรู้” ไว้ว่า เป็นโครงสร้างข้อมูลภายในสมองของมนุษย์ซึ่งรวบรวมความรู้เกี่ยวกับวัตถุลำดับเหตุการณ์

  24. คำถาม • 11.ชอมสกี้ เชื่อว่าพฤติกรรมของมนุษย์นั้นเป็นเรื่องของภายในจิตใจมนุษย์ใช่หรือไม่ใช่ ใช่ ไม่ใช่ • 12. รูเมลฮาร์ทดาวิดและออโทนี่ (Rumelhart, David and Ortony. 1977) ได้ให้ความหมายของคำว่า“โครงสร้างความจำ” ใช่หรือไม่ใช่ ใช่ ไม่ใช่

  25. เฉลย • 11.ชอมสกี้ เชื่อว่าพฤติกรรมของมนุษย์นั้นเป็นเรื่องของภายในจิตใจมนุษย์ ใช่หรือไม่ใช่ ใช่ • 12. รูเมลฮาร์ทดาวิดและออโทนี่ (Rumelhart, David and Ortony. 1977) ได้ให้ความหมายของคำว่า“โครงสร้างความจำ” ใช่หรือไม่ใช่ • ไม่ใช่

  26. สื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนการสอนสื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนการสอน • คำว่า สื่อมัลติมีเดีย (Multimedia)หรือสื่อประสม มาจากคำว่า มัลติ(Multi) ซึ่งแปลว่า หลากหลาย และมีเดีย(Media) หมายถึง สื่อ จาก 2 คำที่กล่าวมานี้ ทำให้ได้ความหมายว่า เป็นการนำสื่อหลายๆ ประเภทมาใช้งานร่วมกัน ทั้งวัสดุ อุปกรณ์และวิธีการ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดในการเรียนการสอน

  27. ปัจจุบัน ด้วยบทบาทของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นในการทำงาน จึงทำให้ความหมายของสื่อประสมเพิ่มขึ้นจากเดิม ความหมายของสื่อประสมที่เพิ่มขึ้นในปัจจุบัน จะหมายถึง “สื่อประสมเชิงโต้ตอบ” (Interactive Multimedia)โดยการเพิ่มปฏิสัมพันธ์ระหว่างสื่อกับผู้ใช้ สื่อสมัยนี้จึงหมายถึง การนำอุปกรณ์ต่างๆ เช่น เครื่องเล่นซีดี-รอม เครื่องเสียงระบบดิจิตอล เครื่องเล่นแผ่นวีดีทัศน์ ฯลฯ มาใช้ร่วมกัน เพื่อเสนอเนื้อหา ข้อมูลที่เป็นตัวอักษร ภาพกาฟิก ภาพถ่าย ภาพเคลื่อนไหวและเสียงในระบบสเตอริโอ โดยการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในการผลิต การนำเสนอเนื้อหา เป็นการให้ผู้ใช้หรือผู้เรียน มิใช่เพียงแต่นั่งดูหรือฟังข้อมูลจากสื่อที่เสนอมาเท่านั้น

  28. คำถาม • 13. คำว่า สื่อมัลติมีเดีย (Multimedia)หรือสื่อประสม มาจากคำว่า มัลติ(Multi) ซึ่งแปลว่า หลากหลายใช่หรือไม่ใช่ ใช่ ไม่ใช่ • 14. ความหมายของสื่อประสมที่เพิ่มขึ้นในปัจจุบัน จะหมายถึง “สื่อประสมเชิงโต้ตอบ” (Interactive Multimedia) ใช่หรือไม่ใช่ ใช่ ไม่ใช่

  29. เฉลย • 13. คำว่า สื่อมัลติมีเดีย (Multimedia)หรือสื่อประสม มาจากคำว่า มัลติ(Multi) ซึ่งแปลว่า หลากหลายใช่หรือไม่ใช่ ใช่ • 14. ความหมายของสื่อประสมที่เพิ่มขึ้นในปัจจุบัน จะหมายถึง “สื่อประสมเชิงโต้ตอบ” (Interactive Multimedia) ใช่หรือไม่ใช่ ใช่

  30. ทฤษฎีการเรียนรู้และจิตวิทยาการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้และจิตวิทยาการเรียนรู้ • ก่อนอื่น เราควรจะทราบถึงว่า การเรียนรู้คือ ในที่นี้ การเรียนรู้หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจากเดิมไปสู่พฤติกรรมใหม่ที่ค่อนข้างถาวร และพฤติกรรมใหม่นี้เป็นผลมาจากประสบการณ์หรือการฝึกฝน มิใช่เป็นผลจากการตอบสนองตามธรรมชาติหรือสัญชาตญาณ หรือวุฒิภาวะ หรือพิษยาต่างๆ หรืออุบัติเหตุ หรือความบังเอิญ พฤติกรรมที่เปลี่ยนไปจะต้องเปลี่ยนไปอย่างค่อนข้างถาวร จึงจะถือว่าเกิดการเรียนรู้ขึ้น หากเป็นการเปลี่ยนแปลงชั่วคราวก็ยังไม่ถือว่าเป็นการเรียนรู้

  31. คำถาม • 15. การเรียนรู้หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจากเดิมไปสู่พฤติกรรมใหม่ที่ค่อนข้างไม่ถาวร ใช่หรือไม่ใช่ ใช่ ไม่ใช่ เฉลย 15. การเรียนรู้หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจากเดิมไปสู่พฤติกรรมใหม่ที่ค่อนข้างไม่ถาวร ใช่หรือไม่ใช่ ไม่ใช่

  32. ทฤษฎีการเรียนรู้ (Theory leaning) • พฤติกรรมเดิมเป็นพฤติกรรมใหม่ที่ค่อนข้างถาวร อันเป็นผลมาจากประสบการณ์การเรียนรู้เป็นการเปลี่ยนแปลงการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอาจมี 3 ด้าน เมื่อบุคคล เกิดการเรียนรู้ จะเกิดการเปลี่ยนแปลงดังนี้ (Bloom, 1959) 1. การเปลี่ยนแปลงทางด้านความรู้ ความเข้าใจ และความคิด (Cognitive Domain) หมายถึง การเรียนรู้เกี่ยวกับเนื้อหาสาระใหม่ ก็จะทำให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจสิ่งแวดล้อมต่างๆ ได้มากขึ้น เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในสมอง

  33. 2. การเปลี่ยนแปลงทางด้านอารมณ์ ความรู้สึก ทัศนคติ ค่านิยม (Affective Domain) หมายถึง เมื่อบุคคลได้เรียนรู้สิ่งใหม่ ก็ทำให้ผู้เรียนเกิดความรู้สึกทางด้านจิตใจ ความเชื่อ ความสนใจ3. ความเปลี่ยนแปลงทางด้านความชำนาญ (Psychomotor Domain)หมายถึง การที่บุคคลได้เกิดการเรียนรู้ทั้งในด้านความคิด ความเข้าใจ และเกิดความรู้สึกนึกคิด ค่านิยม ความสมใจด้วยแล้ว ได้นำเอาสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปปฏิบัติ จึงทำให้เกิดความชำนาญมากขึ้น เช่น การใช้มือ เป็นต้น

  34. คำถาม • 16. พฤติกรรมเดิมเป็นพฤติกรรมใหม่ที่ค่อนข้างถาวร อันเป็นผลมาจากประสบการณ์การเรียนรู้เป็นการเปลี่ยนแปลง ใช่หรือไม่ใช่ ใช่ ไม่ใช่ • 17. การเรียนรู้เกี่ยวกับเนื้อหาสาระใหม่ ก็จะทำให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจสิ่งแวดล้อมต่างๆ ได้มากขึ้นใช่หรือไม่ใช่ ใช่ ไม่ใช่

  35. เฉลย • 16. พฤติกรรมเดิมเป็นพฤติกรรมใหม่ที่ค่อนข้างถาวร อันเป็นผลมาจากประสบการณ์การเรียนรู้เป็นการเปลี่ยนแปลง ใช่หรือไม่ใช่ ใช่ • 17. การเรียนรู้เกี่ยวกับเนื้อหาสาระใหม่ ก็จะทำให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจสิ่งแวดล้อมต่างๆ ได้มากขึ้นใช่หรือไม่ใช่ ใช่

  36. สื่อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษาที่ออกแบบตามแนวคิดของทฤษฎีพฤติกรรมนิยมนี้จะมีโครงสร้างของบทเรียนในลักษณะเชิงเส้นตรง (Linear) โดยผู้เรียนทุกคนจะได้รับการนำเสนอเนื้อหาในลำดับที่เหมือนกันและตายตัว ซึ่งเป็นลำดับที่ผู้สอนได้พิจารณาแล้วว่า เป็นลำดับการสอนที่ดีและผู้เรียนจะสามารถเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด นอกจากนั้นจะมีการตั้งคำถามถามผู้เรียนอย่างสม่ำเสมอ โดยหากผู้เรียนตอบถูกก็จะได้รับการตอบสนองในรูปผลป้อนกลับทางบวกหรือรางวัล (Reward) ในทางตรงกันข้าม หากผู้เรียนตอบผิดก็จะได้รับการตอบสนองในรูปของผลป้อนกลับในทางลบและคำอธิบายหรือการลงโทษ (Punishment) ซึ่งผลป้อนกลับนี้ถือเป็นการเสริมแรงเพื่อให้เกิดพฤติกรรมที่ต้องการ สื่อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษาที่ออกแบบตามแนวคิดของทฤษฎีพฤติกรรมนิยม จะบังคับให้ผู้เรียนผ่านการประเมินตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ตามจุดประสงค์เสียก่อน จึงจะสามารถผ่านไปศึกษาต่อยังเนื้อหาของวัตถุประสงค์ต่อไปได้ หากไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดไว้ผู้เรียนจะต้องกลับไปศึกษาในเนื้อหาเดิมอีกครั้งจะกว่าจะผ่านการประเมิน

  37. คำถาม • 18. สื่อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษาที่ออกแบบตามแนวคิดของทฤษฎีพฤติกรรมนิยมใช่หรือไม่ใช่ ใช่ ไม่ใช่ • 19. สื่อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษาที่ออกแบบตามแนวคิดของทฤษฎีพฤติกรรมนิยม ใช่หรือไม่ใช่ ใช่ ไม่ใช่

  38. เฉลย • 18. สื่อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษาที่ออกแบบตามแนวคิดของทฤษฎีพฤติกรรมนิยมใช่หรือไม่ใช่ ใช่ • 19. สื่อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษาไม่ออกแบบตามแนวคิดของทฤษฎีพฤติกรรมนิยม ใช่หรือไม่ใช่ ไม่ใช่

  39. ทฤษฎีปัญญานิยม (Cognitivism) • เกิดจากแนวคิดของชอมสกี้ (Chomsky) ที่ไม่เห็นด้วยกับสกินเนอร์ (Skinner) บิดาของทฤษฎีพฤติกรรมนิยม ในการมองพฤติกรรมมนุษย์ไว้ว่าเป็นเหมือนการทดลองทางวิทยาศาสตร์ ชอมสกี้เชื่อว่า พฤติกรรมของมนุษย์นั้นเป็นเรื่องของภายในจิตใจมนุษย์ ไม่ใช่ผ้าขาวที่เมื่อใส่สีอะไรลงไปก็จะกลายเป็นสีนั้น มนุษย์มีความนึกคิด มีอารมณ์ จิตใจและความรู้สึกภายในที่แตกต่างกันออกไป ดังนั้น การออกแบบการเรียนการสอนก็ควรที่จะคำนึงถึงความแตกต่างภายในของมนุษย์ด้วย ในช่วงนี้มีแนวคิดต่างๆ เกิดขึ้นมากมาย เช่น แนวคิดเกี่ยวกับการจำ (Short Term Memory , Long Term Memory and Retention) แนวคิด เกี่ยวกับการแบ่งความรู้ออกเป็น 3 ลักษณะคือ ความรู้ในลักษณะเป็นขั้นตอน (Process - Dural Knowledge) ซึ่งเป็นความรู้ ซึ่งอธิบายว่า ทำอย่างไรและเป็นองค์ความรู้ที่ต้องการลำดับการเรียนรู้ที่ชัดเจน ความรู้ในลักษณะการอธิบาย (Declarative Knowledge) ซึ่งได้แก่ความรู้ที่อธิบายว่าคืออะไรและความรู้ในลักษณะเงื่อนไข (Conditional Know-ledge) ซึ่งได้แก่ความรู้ที่อธิบายว่า เมื่อไรและทำไม ซึ่งความรู้ 2 ประเภทหลังนี้ ไม่ต้องการลำดับการเรียนรู้ที่ตายตัว

  40. คำถาม • 20. เกิดจากแนวคิดของชอมสกี้ (Chomsky) ที่ไม่เห็นด้วยกับสกินเนอร์ (Skinner) บิดาของทฤษฎีพฤติกรรมนิยม ใช่หรือไม่ใช่ ใช่ ไม่ใช่

  41. เฉลย • 20. เกิดจากแนวคิดของชอมสกี้ (Chomsky) ที่ไม่เห็นด้วยกับสกินเนอร์ (Skinner) บิดาของทฤษฎีพฤติกรรมนิยม ใช่หรือไม่ใช่ ใช่

More Related