1 / 24

แนวทางการจัดวางระบบการควบคุมภายในและการประเมินผลการควบคุมภายใน

แนวทางการจัดวางระบบการควบคุมภายในและการประเมินผลการควบคุมภายใน. ดำเนินการตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐาน การควบคุมภายใน พ.ศ. 2544. ข้อ 5 กำหนดว่า. “ ให้หน่วยรับตรวจจัดวางระบบการควบคุมภายใน โดยใช้มาตรฐานการควบคุมภายใน ท้ายระเบียบนี้เป็น

Download Presentation

แนวทางการจัดวางระบบการควบคุมภายในและการประเมินผลการควบคุมภายใน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการจัดวางระบบการควบคุมภายในและการประเมินผลการควบคุมภายในแนวทางการจัดวางระบบการควบคุมภายในและการประเมินผลการควบคุมภายใน ดำเนินการตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐาน การควบคุมภายใน พ.ศ. 2544

  2. ข้อ 5 กำหนดว่า “ ให้หน่วยรับตรวจจัดวางระบบการควบคุมภายใน โดยใช้มาตรฐานการควบคุมภายใน ท้ายระเบียบนี้เป็น แนวทางให้แล้วเสร็จภาย 1 ปีนับตั้งแต่วันที่ระเบียบนี้ ใช้บังคับ”

  3. ข้อ 6 กำหนดว่า “ ให้ผู้รับตรวจรายงานต่อคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ผู้กำกับดูแล และคณะกรรมการตรวจสอบ เกี่ยวกับ การควบคุมภายในอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้งภายใน 90 วัน นับจากวันสิ้นปีงบประมาณ ”

  4. ความหมาย “การควบคุมภายใน” กระบวนการปฏิบัติงานที่ผู้กำกับดูแล ฝ่ายบริหารและบุคลากรขององค์กรจัดให้มีขึ้นเพื่อให้มั่นใจว่า - มีการปฏิบัติตามกฏหมาย ระเบียบ ข้อบังคับและมติ ครม. - ส่งเสริมการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพ มีประสิทธิผล และบรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมาย - มีการดูแลป้องกันทรัพย์สินจากการเสียหาย ลดความผิดพลาด ป้องกันการทุจริต - จัดให้มีและดำรงไว้ซึ่งข้อมูลทางการเงิน และการบริหารที่ เชื่อถือได้ และทันต่อเวลา

  5. วัตถุประสงค์การควบคุมภายในวัตถุประสงค์การควบคุมภายใน 1. การดำเนินงาน(Operation: O) 2. การรายงานทางการเงิน (Financial: F) 3. การปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับที่ เกี่ยวข้อง (Compliance: C)

  6. แนวคิดเกี่ยวกับการควบคุมภายในแนวคิดเกี่ยวกับการควบคุมภายใน 1. แทรกหรือแฝงอยู่ในการปฏิบัติงานตามปกติ 2. บุคลากรทุกระดับมีส่วนร่วมในการทำให้มีระบบ การควบคุมเกิดขึ้น 3. ทำให้เกิดความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผล

  7. องค์ประกอบมาตรฐานการควบคุมภายใน 5 องค์ประกอบ 1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม 2. การประเมินความเสี่ยง 3. กิจกรรมการควบคุม 4. สารสนเทศและการสื่อสาร 5. การติดตามและประเมินผล

  8. 1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม(Control Environment) เป็นพื้นฐานที่สำคัญที่สุดของการบริหารองค์กร ผู้กำกับดูแล ฝ่ายบริหาร และบุคลากรของหน่วยงานรับตรวจต้องสร้างสภาพแวดล้อมให้บุคลากรทุกระดับ มีทัศนะคติที่ดีต่อการควบคุมภายใน โดยส่งเสริมให้บุคลากรทุกคนในหน่วยรับตรวจเกิดจิตสำนึกในเรื่องความซื่อสัตย์ จริยธรรม ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายและความสำคัญของประสิทธิผลการควบคุมภายใน

  9. ปัจจัยสภาพแวดล้อมการควบคุมปัจจัยสภาพแวดล้อมการควบคุม - ความซื่อสัตย์ และจริยธรรม - การพัฒนาความรู้ความสามารถของบุคลากร - คณะกรรมการบริหาร และคณะกรรมการตรวจสอบ - ปรัชญาและรูปแบบการบริหารของผู้บริหาร - โครงสร้างองค์กร - การมอบอำนาจและหน้าที่ความรับผิดชอบ - นโยบายและวิธีการบริหารบุคคล

  10. 2. การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) ฝ่ายบริหารต้องให้ความสำคัญและประเมินความเสี่ยง ซึ่งมีผลกระทบต่อผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของหน่วยรับตรวจ ที่เกิดจากปัจจัยภายในและภายนอก ด้วยวิธีการที่เป็นแบบอย่างเพียงพอและเหมาะสม

  11. ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง - ระบุปัจจัยเสี่ยง - วิเคราะห์ความเสี่ยง - การจัดการความเสี่ยง (หลีกเลี่ยง, แบ่งปัน, การลด, การยอมรับ)

  12. 3. กิจกรรมการควบคุม(Control Activities) กิจกรรมการควบคุมเป็นวิธีการต่างๆ ที่นำมาใช้ในการปฏิบัติงานซึ่งกำหนดหรือออกแบบเพื่อป้องกันหรือลดความเสี่ยงอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ฝ่ายบริหารต้องจัดให้มีกิจกรรมการควบคุมที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อป้องกันหรือลดความเสียหาย ความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น และให้สามารถบรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน

  13. กิจกรรมการควบคุมที่ปฏิบัติโดยทั่วไปกิจกรรมการควบคุมที่ปฏิบัติโดยทั่วไป 1. การกำหนดนโยบายและระเบียบวิธีปฏิบัติงาน 2. การสอบถามโดยผู้บริหาร 3. การควบคุมการประเมินผลข้อมูล 4. การอนุมัติ 5. การดูแลป้องกันทรัพย์สิน 6. การแบ่งแยกหน้าที่ 7. การจัดทำเอกสารหลักฐาน

  14. 4. สารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communications) สารสนเทศและการสื่อสารเป็นส่วนสนับสนุนที่สำคัญ ต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผล ในการกำหนดกลยุทธ์ประเมินความเสี่ยงและกิจกรรมการควบคุม ฝ่ายบริหารต้องจัดให้มีสารสนเทศอย่างเพียงพอ เหมาะสม เชื่อถือได้และสื่อสารให้ฝ่ายบริหารและบุคลากรอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกหน่วยรับตรวจ ซึ่งจำเป็นต้องใช้สารสนเทศในรูปแบบที่เหมาะสมและทันเวลา

  15. สารสนเทศและการสื่อสารสารสนเทศและการสื่อสาร - มีข้อมูลถูกต้องเพียงพอ สมบูรณ์เป็นปัจจุบัน ทันเวลาและเชื่อถือได้ - มีการสื่อสารครอบคลุมทั่วถึงทั้งองค์กร - การสื่อสารมีความชัดเจน

  16. 5. การติดตามประเมินผล การติดตามประเมินผลเป็นวิธีการที่ช่วยให้ฝ่ายบริหาร มีความมั่นใจว่าระบบการควบคุมภายในมีการปฏิบัติตามฝ่ายบริหาร ต้องจัดให้มีการติดตามประเมินผล โดยการติดตามผลในระหว่างการปฏิบัติงานและประเมินผลเป็นรายครั้งอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม เพื่อให้ความมั่นใจว่าระบบการควบคุมภายในที่กำหนดหรือออกแบบไว้เพียงพอเหมาะสมมีประสิทธิผล หรือต้องปรับปรุง

  17. การติดตามประเมินผล 1. การติดตามผลในระหว่างปฏิบัติงาน 2. การประเมินผลเป็นรายครั้ง - การประเมินการควบคุมด้วยตนเอง - การประเมินการควบคุมอย่างเป็นอิสระ

  18. การจัดวางระบบการควบคุมภายในการจัดวางระบบการควบคุมภายใน 1. กำหนด/ออกแบบระบบการควบคุมภายใน - ภารกิจของหน่วยรับตรวจ - วัตถุประสงค์หน่วยรับตรวจ - กิจกรรมที่ทำให้บรรลุวัตถุประสงค์ - วัตถุประสงค์ในระดับกิจกรรม 2. ระบุความเสี่ยง 3. กิจกรรมการควบคุม

  19. การติดตามประเมินผลการควบคุมภายในการติดตามประเมินผลการควบคุมภายใน การติดตามผลระหว่างปฏิบัติงาน - กำหนดนโยบายและวิธีปฏิบัติ - มีการสอบทานข้อมูล - สอบยันข้อมูล - การวิเคราะห์ ทดสอบความถูกต้อง เปรียบเทียบข้อมูล การประเมินผลเป็นรายครั้ง - ประเมินการควบคุมด้วยตนเอง - ประเมินการควบคุมอย่างเป็นอิสระ

  20. ขั้นตอนการประเมินผลการควบคุมภายในขั้นตอนการประเมินผลการควบคุมภายใน 1. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ 2. กำหนดงานในความรับผิดชอบ (กิจกรรม) 3. จัดเตรียมเครื่องมือการประเมิน - แบบประเมิน (ภาคผนวก ก.) - แบบสอบถามการควบคุมภายใน (ภาคภนวก ข.) 4. ประเมินผลการควบคุมภายใน - ระดับส่วนงานย่อย - ระดับหน่วยรับตรวจ

  21. รูปแบบการรายงาน 1. ระดับหน่วยรับตรวจ (ระดับกรม) มี 3 แบบ - แบบ ปอ.1 หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุม ภายใน - แบบ ปอ.2 รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการ ควบคุมภายใน - แบบ ปอ.3 รายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน

  22. รูปแบบการรายงาน 2. ระดับส่วนงานย่อย มี 2 แบบ - แบบ ปย.1 รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการ ควบคุมภายใน - แบบ ปย.2 รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการ ควบคุมภายใน 3. รายงานของผู้ตรวจสอบภายใน - แบบ ปส. รายงานผลการสอบทานการประเมินผลการ ควบคุมภายในของผู้ตรวจสอบภายใน

  23. การประเมินผลการควบคุมภายในการประเมินผลการควบคุมภายใน ประเมิน 5 องค์ประกอบ ประเมินกระบวนการปฏิบัติงาน หน่วยงานส่วนย่อย(สำนัก กอง สพข สพด) ปย.1 ปย.2 ระดับองค์กร(กรม) ปอ. 2 ปอ.3 ปอ.1

  24. กรมพัฒนาที่ดิน จัดวางระบบการควบคุมภายในตามลักษณะงานเป็น 9 ด้าน • ด้านบริหารทั่วไป • ด้านนโยบายและแผน • ด้านบริหารงานบุคคล • ด้านบริหารงบประมาณการเงิน การคลัง การบัญชี • ด้านการพัสดุ • ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ • ด้านปฏิบัติการ • ด้านวิชาการ • ด้านงานช่าง

More Related