1 / 14

เขตเศรษฐกิจสามฝ่าย IMT-GT ( หัวข้อบรรยาย )

โครงการพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝ่ายอินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย I ndonesia- M alaysia- T hailand G rowth T riangle : IMT-GT. เขตเศรษฐกิจสามฝ่าย IMT-GT ( หัวข้อบรรยาย ). 1. ความเป็นมา 2. วัตถุประสงค์และลักษณะความร่วมมือ 3. สาขาความร่วมมือและที่เป็นกรอบยุทธศาสตร์

janus
Download Presentation

เขตเศรษฐกิจสามฝ่าย IMT-GT ( หัวข้อบรรยาย )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝ่ายอินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทยIndonesia-Malaysia-ThailandGrowth Triangle: IMT-GT

  2. เขตเศรษฐกิจสามฝ่าย IMT-GT(หัวข้อบรรยาย) 1. ความเป็นมา 2. วัตถุประสงค์และลักษณะความร่วมมือ 3. สาขาความร่วมมือและที่เป็นกรอบยุทธศาสตร์ 4. ผลทางการค้าที่ (คาดว่า) จะได้รับ 5. ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน 6. ผลการประชุมล่าสุด (มิถุนายน 2544) 7. ข้อคิดเห็นเสนอแนะต่อโครงการ

  3. เขตเศรษฐกิจสามฝ่าย IMT-GT1. ความเป็นมา • เริ่ม มกราคม-เมษายน 2536 เสนอโดยมาเลเซีย • ประสานงานโดย อินโดนีเซีย (ไทย ?) • ครอบคลุมเฉพาะพื้นที่ที่กำหนดเท่านั้น • อาเชห์ สุมาตราเหนือและตะวันตกอินโดนีเซีย • เคดาห์ เปอร์ลิส เปรักและปีนัง มาเลเซีย • สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส และสตูล ไทย • มิถุนายน 2544 เพิ่มเขต Bengkelu และ Jambi

  4. พื้นที่เขตเศรษฐกิจสามฝ่าย IMT-GT ไทย ภาคใต้ 5 จังหวัด 4 จังหวัด มาเลเซีย อินโดนีเซีย เกาะสุมาตรา

  5. สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส และสตูล เคดาห์ เปอร์ลิส เปรักและปีนัง

  6. เขตเศรษฐกิจสามฝ่าย IMT-GT2. วัตถุประสงค์และลักษณะความร่วมมือ - ช่วยเหลือและร่วมมือกันทางเศรษฐกิจและสังคม - ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรเพื่อการผลิต การลงทุน การถ่ายทอดเทคโนโลยี การเชื่อมโยงและพัฒนา โครงสร้างพื้นฐาน การลดต้นทุนการขนส่ง - จุดเด่น คือ เอกชนเป็นผู้ระบุความต้องการและ รัฐจะให้การสนับสนุนตามนั้น

  7. เขตเศรษฐกิจสามฝ่าย IMT-GT 3. สาขาความร่วมมือและที่เป็นกรอบยุทธศาสตร์ 1. คมนาคมและขนส่งทางบกและน้ำ 2. พลังงาน 3. เกษตรและประมง4. อุตสาหกรรม 5. พัฒนาทรัพยากรมนุษย์และแรงงาน 6. การค้า 7. การลงทุนและการเงิน8. การท่องเที่ยว 9. คมนาคมและขนส่งทางอากาศ 10. สื่อสารโทรคมนาคม

  8. เขตเศรษฐกิจสามฝ่าย IMT-GT3. สาขาการพัฒนาที่เป็นกรอบยุทธศาสตร์ 6 สาขา 1. โครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure Development) 2. การค้าและการพัฒนาควบคู่ (Trade and In-situ Development) 3. การดำเนินการเปิดตลาด (Open Market Operation) 4. การพัฒนาเฉพาะรายสาขา (Sectoral Development) 5. การพัฒนาสหสาขาร่วมกัน (Cross-sectoral Development) 6. การพัฒนาพื้นที่ข้างเคียง (Development of Hinterlands)

  9. เขตเศรษฐกิจสามฝ่าย IMT-GT 4. ผลทางการค้าที่ (คาดว่า) จะได้รับ • การทำแผนตลาดร่วมกัน • สร้างเครื่องหมายการค้า IMT-GT Brand Name • เพิ่มแรงจูงใจการลงทุนด้วยสิทธิประโยชน์ • เพิ่มประสิทธิภาพอุตสาหกรรมในพื้นที่ด้วยการ • รวมกลุ่มผลิต (Clusters) • แลกเปลี่ยนข้อมูลและลด NTM ระหว่างกัน • ร่วมมือกันใช้ระบบชำระเงินโดยไม่อิงเงิน US$

  10. เขตเศรษฐกิจสามฝ่าย IMT-GT 5. ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน • ขยายเวลาเปิดด่านไทย-มาเลเซียเป็น 24 ชั่วโมง • ขนส่งสินค้าเน่าเสียง่ายผ่านด่านโดยไม่เปิดตรวจ • มีคณะทำงานเฉพาะกิจ IMT-GT Task Force • ให้มีการพิจารณาลด NTB (Non-Tariff Barrier) • พัฒนาถนนสายสตูล-เปอร์ลิส • ยกระดับทางด่านเกวียนให้สูงเท่าด่านศุลกากรไทย

  11. เขตเศรษฐกิจสามฝ่าย IMT-GT 5. ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน (ต่อ) • พัฒนาปรับปรุงถนนในมาเลเซียที่เชื่อมต่อกับสตูลให้ • รองรับรถบรรทุกขนาดใหญ่ได้ • เสนอให้เปิดเส้นทางอากาศ หาดใหญ่-เมดาน-ปีนัง • มีโครงการ IMT-GT: Triangle of Treasures เพื่อสนับ • สนุนการท่องเที่ยว [ทางเรือ (Cruise)] • เป็น Special Telecommunication Zone คิดอัตราพิเศษ

  12. เขตเศรษฐกิจสามฝ่าย IMT-GT6. ผลการประชุมล่าสุด (มิถุนายน 2544) • ให้ลำดับความสำคัญของโครงการดำเนินการต่างๆ • พัฒนาระบบเครือข่ายข้อมูลข่าวสารด้านการค้า • การลงทุน และข้อมูลสารสนเทศแหล่งวัตถุดิบ • ให้ศึกษาการเปิดเสรีเส้นทางเดินอากาศ แล้วส่ง • รายงานปลายปี 2544 • ให้ความสำคัญต่อ SME เพื่อกระชับความร่วมมือ • ทางเศรษฐกิจของ IMT-GT

  13. เขตเศรษฐกิจสามฝ่าย IMT-GT7. ข้อคิดเห็นเสนอแนะต่อโครงการ - ไทยไม่มีพรมแดนติดกับอินโดนีเซีย ติดต่อไม่สะดวก - นักธุรกิจสนใจทำธุรกิจกับไทย แต่ไทยสนใจการประชุม - ภาครัฐของไทยต่อ IMT-GT ยังขาดความชัดเจน - รัฐไม่สนใจข้อคิดเห็นและการมีส่วนร่วมของเอกชน - ภาคเอกชนยังขาดการประสานงานระหว่างองค์กรใหญ่

  14. เขตเศรษฐกิจสามฝ่าย IMT-GTประเด็นข้อคิดเห็นต่อโครงการ - IMT-GT เริ่ม 2536 มีความคืบหน้าที่เป็นประโยชน์น้อย - มีข้อเสนอแนะจากนักอุตสาหกรรมและนักธุรกิจน้อย - ไทยมีผลประโยชน์ต่อ IMT-GT น้อยจริงหรือไม่ - แผนยุทธศาสตร์ไม่มีเงื่อนไขเวลาและเป้าหมายของงาน - ภาคเอกชนมีความต้องการและความจริงใจ !!!!

More Related