1 / 13

ความก้าวหน้าในการดำเนินงานโครงการฯ

ความก้าวหน้าในการดำเนินงานโครงการฯ. ( ตุลาคม 2552 – ธันวาคม 2552). ความก้าวหน้า (Q2) :. จัดประชุมชี้แจงโครงการฯ เพื่อหาแนวทางการทำงานร่วมกับ PR-DDC,BTB,SSR และหน่วยงานระดับพื้นที่ 4 ครั้ง ดังนี้ FAR- จ.ระยอง ( 13 ตุลาคม 2552) บ้านสุขสันต์ – จ.สงขลา ( 20 ตุลาคม 2552 )

Download Presentation

ความก้าวหน้าในการดำเนินงานโครงการฯ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความก้าวหน้าในการดำเนินงานโครงการฯความก้าวหน้าในการดำเนินงานโครงการฯ (ตุลาคม 2552 – ธันวาคม 2552)

  2. ความก้าวหน้า (Q2) : • จัดประชุมชี้แจงโครงการฯ เพื่อหาแนวทางการทำงานร่วมกับ PR-DDC,BTB,SSR และหน่วยงานระดับพื้นที่ 4 ครั้ง ดังนี้ • FAR-จ.ระยอง (13 ตุลาคม 2552) • บ้านสุขสันต์ – จ.สงขลา (20 ตุลาคม 2552) • AIDSNET- จ.ขอนแก่น (29 ตุลาคม 2552) • RTF- จ.พะเยา (3 ธันวาคม 2552) • ประชุมติดตามความก้าวหน้าในการทำงานและ M&Eร่วมกับภาคีองค์กรเอกชน 1 ครั้ง (5-6 พฤศจิกายน 2552) • จัดประชุมหารือเพื่อเตรียมการจัดงาน “วันวัณโรคโลก ปี 2553” ร่วมกับ PR-DDC,BTB,PHI,SSR (1) ครั้ง (27 พฤศจิกายน 2552)

  3. Theme: Innovation: “นวัตกรรมสู่เส้นทางเร่งรัดขจัดภัยวัณโรค” • Slogan: On the move against tuberculosis Innovate to accelerate action “คุณหาย เราปลอดภัย ภาคีร่วมใจ เพื่อสุขอนามัยของชุมชน” “คุณหาย เราปลอดภัย ภาคีร่วมใจ ชนะภัยวัณโรค” “คุณหาย เราปลอดภัย ภาคีร่วมใจ ใส่ใจกินยาทุกวัน” “ทุกคนปลอดภัย ร่วมใจ รวมพลัง หยุดยั้งวัณโรค ”

  4. Message: • ประเทศไทยยังเปน็น 1 ใน 22 ประเทศที่วัณโรคยังเป็นปัญหารุนแรง • มีผู้ป่วยรายใหม่ปีละประมาณ 90,000 ราย ครึ่งหนึ่งเป็นวัณโรคระยะแพร่เชื้อ • ประเทศไทยมีแนวโน้มที่จะเป็น 1 ใน 27 ประเทศ ที่มีปัญหาวัณโรคดื้อยาหลายขนานและวัณโรคดื้อยารุนแรง • แรงงานข้ามชาติและกลุ่มด้อยโอกาสป่วยเป็นวัณโรคไม่สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขของประเทศไทยได้อย่างทั่วถึง • ปัญหาการติดเชื้อเอชไอวียังอยู่ในระดับสูงซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อผู้ป่วยวัณโรค จำนวนผู้ป่วยวัณโรคเพิ่มขึ้น

  5. Message: • ผลสำเร็จของการรักษายังไม่ถึงเป้าหมายขององค์การอนามัยโลก • การมีส่วนร่วมของชุมชนในการค้นหาและรักษาผู้ป่วยวัณโรคมีความสำคัญ • การมีส่วนร่วมของภาคเอกชนและภาคประชาสังคม ช่วยเติมเต็มการควบคุมวัณโรคของประเทศไทย • องค์ความรู้ใหม่ๆ ในการวินิจฉัยวัณโรคมีความจำเป็น วัคซีนใหม่ เพื่อใช้ทดแทนหรือเสริมประสิทธิภาพของวัคซีน BCG ยาใหม่ เพื่อลดระยะเวลาการรักษาให้สั้นลง ตลอดจนการรักษาวัณโรคดื้อยาหลายขนาน ถือเป็นความจำเป็นเร่งด่วน • เด็กมีโอกาสป่วยเป็นวัณโรคและเสียชีวิตง่าย • การเลือกปฏิบัติและการลดการรังเกียจต่อผู้ป่วยวัณโรคยังคงเป็นปัญหา

  6. กิจกรรมรณรงค์ “วันวัณโรคโลก ปี 2553” • รูปแบบกิจกรรมหลักฯ ได้แก่ • ส่วนกลาง ได้แก่ประกวดหนังสั้น,จัดทำหนังสารคดี , Media Field Trip, Media Training (สัมมนาสื่อ) • ส่วนภูมิภาค ได้แก่ การจัดกิจกรรมรณรงค์ระดับพื้นที่ เช่น สคร. 12 เขต ,สสจ,รพ.ของรัฐ และหน่วยงานเอกชนที่เข้าร่วมโครงการฯ

  7. ความก้าวหน้า (Q2) : (ต่อ) • เข้าร่วมประชุมจัดทำ Comprehensive M&E Plan for TB control in Thailand (ระหว่างวันที่ 15-17 ธ.ค. 52) • เข้าร่วมประชุมนิเทศติดตามงานด้านวัณโรค (Integrate M&E )  (GF6 & GF8) แบบบูรณาการ สคร. 7 จ.อุบลราชธานี (18 ธ.ค. 52) • จัดซื้อตลับเสมหะ (9,000 ชิ้น) ,หน้ากากอนามัยแบบ 3 ชั้น (24,000 ชั้น) และหน้ากากอนามัยแบบ N-95 (100 ชิ้น) สนับสนุนการดำเนินโครงการให้กับ 11 จังหวัด • จัดทำสัญญากับผู้รับทุนหลัก (เซ็นสัญญาแล้วปลายเดือน ก.ย. 52) • จัดทำสัญญากับผู้รับทุนย่อย (เซ็นสัญญาไปบางส่วนแล้ว คาดว่าจะแล้วเสร็จ ปลายเดือน ธ.ค. 52)

  8. ความก้าวหน้า (Q2) : (ต่อ) • ประสานงานองค์กรอนามัยโลก เพื่อจัดหาที่ปรึกษา ในการทำ KAP Survey (ประสาน WHO แต่ยังไม่ได้รับการตอบกลับ)

  9. แผนงาน (1) • เตรียมการจัดทำการสำรวจข้อมูลพื้นฐานม.ค.2552(วางแผน-Q3) • ขอสนับสนุนด้านวิชาการจาก WHO (โดยขอให้ PR-DDC ทำหนังสือถึง WHO) • เตรียมร่างกรอบการปฏิบัติงานและกระบวนการจัดหาที่ปรึกษา TORในการเก็บข้อมูล KAP (ปรึกษาในที่ประชุม 28ธ.ค. 52) • ประชุมร่วมกับสำนักประชาสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค เพื่อร่วมวางแผนการจัดกิจกรรมรณรงค์ “วันวัณโรคโลก ปี 2553) (หลังปีใหม่ รอ confirm วันประชุมกับสำนักวัณโรค)

  10. แผนงาน (2) • จัดประชุมเพื่อพัฒนาหลักสูตรสำหรับผู้แทนวัณโรคระดับตำบล (ม.ค. 2552) • ผลิตสื่อความรู้และเครื่องมือการปฏิบัติงาน (Q3) • ได้รับต้นฉบับ “คู่มือบันทึกสุขภาพ” จากสำนักวัณโรค ช่วงปลาย พ.ย. 52 ดำเนินการส่งแปล 3 ภาษา (พม่า,ลาว และกัมพูชา) อยู่ระหว่างการแก้ไข และจัดพิมพ์ • สมุดบันทึกประจำผู้ป่วยวัณโรค “Health Diary” ดำเนินการส่งแปล 3 ภาษา พม่า,ลาว และกัมพูชา) อยู่ระหว่างการแก้ไข และจัดพิมพ์ • คูปอง แปล 3 ภาษา (พม่า,ลาว และกัมพูชา) อยู่ระหว่างการจัดพิมพ์ • TB Patient Charterแปลภาษา พม่า กัมพูชา ลาว • แบบฟอร์มเก็บข้อมูล อยู่ระหว่างการแก้ไขทดลองใช้งาน (11 จังหวัด) • คู่มือการปฏิบัติงานโครงการฯ ปรับแก้ไข “บทบาทหน้าที่หน่วยงานฯ” แล้ว (ซึ่งจะนำรวมเข้ากับคู่มือการดำเนินโครงการฯ ของ BTB เพื่อจัดพิมพ์)

  11. แผนงาน (3) • ประชุมชี้แจงโครงการฯ เพื่อหาแนวทางการทำงานร่วมกับ PR-DDC,BTB,SSR ในพื้นที่ (พร้อมติดตามความก้าวหน้าในการทำงาน) ได้แก่ WVFT (นนทบุรี),PDA(พิษณุโลก,นครราชสีมา) และ Plan (เชียงรายและศรีษะเกษ) ช่วงเดือน ม.ค. – มี.ค. 2552

  12. ปัญหา-อุปสรรค • องค์กร IOM ปฏิเสธการเข้าร่วมโครงการ เนื่องจากระบบการบริหารจัดการภายในขององค์กร (แก้ไขโดย : Plan ดำเนินการแทน ในพื้นที่ จ.เชียงราย ทั้ง 6 อำเภอ และมูลนิธิรักษ์ไทย ดำเนินการแทนใน จ.สมุทรสาคร • ในกรณีแรงงานข้ามชาติ ตรวจสุขภาพแล้ว พบว่าเป็นวัณโรค ระยะแพร่เชื้อ จะถูกส่งกลับ ทำให้ไม่ได้รับการรักษา

  13. ยินดีสำหรับทุกคำแนะนำยินดีสำหรับทุกคำแนะนำ ขอบคุณค่ะ

More Related