1 / 15

งานเฝ้าระวังสื่อและตอบโต้สื่อสารความเสี่ยง กรมควบคุมโรค

งานเฝ้าระวังสื่อและตอบโต้สื่อสารความเสี่ยง กรมควบคุมโรค. นาง ศิริ วลัย มณีศรีเดช นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ.

jael
Download Presentation

งานเฝ้าระวังสื่อและตอบโต้สื่อสารความเสี่ยง กรมควบคุมโรค

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. งานเฝ้าระวังสื่อและตอบโต้สื่อสารความเสี่ยงกรมควบคุมโรคงานเฝ้าระวังสื่อและตอบโต้สื่อสารความเสี่ยงกรมควบคุมโรค นางศิริวลัย มณีศรีเดช นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ

  2. จากสถานการณ์อุทกภัยครั้งใหญ่ทั่วประเทศไทยเมื่อ พ.ศ.2554 ได้นำมาสู่การปรับเปลี่ยนสื่อสารเชิงรุก โดยมีการจัดตั้งกลุ่มเฝ้าระวังและตอบโต้สื่อสารความเสี่ยงโรคและภัยสุขภาพ ภายใต้สำนักงานเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ ต่อมามีภัยวิกฤติเพิ่มมากขึ้น ผู้บริหารกรมควบคุมโรคได้กำหนดนโยบาย และเล็งเห็นความสำคัญของงานสื่อสารความเสี่ยงที่ดำเนินการเป็นระบบและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

  3. จึงได้ดำเนินการปรับปรุงสำนักงานเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ เป็น สำนักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ โดยคำสั่งที่ 243/2556 เรื่อง ตั้งสำนักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เป็นการภายใน สังกัดกรมควบคุมโรค สั่ง ณ วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2556

  4. สำนักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพสำนักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ

  5. หน้าที่ความรับผิดชอบของสำนักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพหน้าที่ความรับผิดชอบของสำนักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ

  6. การบริหารงานของสำนักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพการบริหารงานของสำนักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ สำนักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพแบ่งส่วนราชการ ดังนี้ 1. กลุ่มบริหารทั่วไป 2. กลุ่มยุทธศาสตร์และพัฒนาองค์กร 3. กลุ่มเฝ้าระวังและตอบโต้ 4. กลุ่มสื่อสารและรณรงค์ 5. กลุ่มพัฒนาพฤติกรรม

  7. กลุ่มเฝ้าระวังสื่อและตอบโต้สำนักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเฝ้าระวังสื่อและตอบโต้สำนักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ มีหน้าที่ - ศึกษา วิเคราะห์ พัฒนารูปแบบการเฝ้าระวังสื่อ ตอบโต้สื่อสารความเสี่ยงโรคและภัยสุขภาพ ที่มีผลกระทบต่อภาพลักษณ์กรมควบคุมโรค - ดำเนินการเฝ้าระวังสื่อ คัดกรองข่าว วิเคราะห์ข่าวสารที่มีผลกระทบต่อภาพลักษณ์ของกรมควบคุมโรค - จัดหาแหล่งข่าว ประสานสื่อมวลชน จัดทำประเด็นสาร เพื่อสื่อสารความเสี่ยงโรคและภัยสุขภาพ และสร้างภาพลักษณ์ของกรมควบคุมโรค - สร้างและพัฒนาภาคีเครือข่ายงานเฝ้าระวังสื่อและตอบโต้อย่างเป็นระบบ รวดเร็ว ทันสถานการณ์ ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค - ปฏิบัติงานอื่นๆตามที่ได้รับมอบหมาย

  8. การบริหารงานของสำนักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพการบริหารงานของสำนักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ สำนักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มบริหารทั่วไป กลุ่มยุทธศาสตร์และพัฒนาองค์กร กลุ่มเฝ้าระวังสื่อและตอบโต้ กลุ่มสื่อสารและรณรงค์ กลุ่มพัฒนาพฤติกรรม

  9. งานเฝ้าระวังและตอบโต้การสื่อสารความเสี่ยงโรคและภัยสุขภาพงานเฝ้าระวังและตอบโต้การสื่อสารความเสี่ยงโรคและภัยสุขภาพ งานเฝ้าระวัง งานตอบโต้ จัดทำแผนและประเด็นการสื่อสารความเสี่ยงเพื่อพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ศึกษา วิเคราะห์และสรุปข่าวจากสื่อต่างๆ จัดหาแหล่งข่าวเพื่อสื่อสารข้อมูลด้านการป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ เฝ้าระวังติดตาม ข่าวสารฯ กำหนดประเด็น เนื้อหา และกลยุทธ์ การตอบโต้ คัดกรองข่าว วิเคราะห์ข่าว จัดลำดับความเสี่ยงของข่าว ดำเนินการตอบโต้ข่าวสารผ่านช่องทางการสื่อสารต่างๆ สร้างและพัฒนาภาคีเครือข่ายการเฝ้าระวังและตอบโต้ข่าวสารความเสี่ยง ประเมินผลการดำเนินงานเฝ้าระวังและสื่อสารความเสี่ยง

  10. แผนผังการจัดการข้อมูลข่าวสารที่มีความเสี่ยงสูงอย่างครบวงจรแผนผังการจัดการข้อมูลข่าวสารที่มีความเสี่ยงสูงอย่างครบวงจร Media Watch คัดกรองข่าวสารข้อมูล แหล่งข่าว พยากรณ์โรค ข่าวลือ Call Center ข้อมูลที่มีความเสี่ยงสูง* ไม่ใช่ ดำเนินการตามระบบปกติ ใช่ ตรวจสอบข้อมูลผู้ประสานหลักของแต่ละสำนัก จัดทำสาระสำคัญ เช่น ข่าวกรอง.ประเด็นแถลงข่าว (เพื่อการประชาสัมพันธ์/เพื่อการดำเนินการป้องกันควบคุมโรค) สำนักวิชาการต่างๆ จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ สำนักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ/ส.วิชาการ ตรวจทานสาระสำคัญ ผอ./ผู้ที่ได้รับมอบหมายแต่ละสำนัก กรณีไม่ซับซ้อน กรณีซับซ้อน กระบวนการต่อไปกรณีซับซ้อน

  11. กรณีซับซ้อน วางแผนประชาสัมพันธ์อย่างเป็นขั้นตอน คณะทำงานฯ** ตรวจสอบข้อมูลผู้ประสานหลักของแต่ละสำนัก ผู้บริหาร ดำเนินการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ สนง.สื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (ส.วิชาการต่างๆ,ส.สารนิเทศ,โฆษกกรมและโฆษกกระทรวง) ปรับการวางแผนประชาสัมพันธ์อย่างเป็นขั้นตอนตามความเห็นชอบของกรมควบคุมโรค คณะทำงานฯ** หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง(ส.วิชาการต่างๆ,ส.สารนิเทศ,โฆษกกรมและโฆษกกระทรวง) ประชาสัมพันธ์ต่างช่องทางต่างๆ แจ้ง Call Center กรณีไม่ซับซ้อน ติดตามผลกระทบ คณะทำงานฯ** กรณีซับซ้อน ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค ผู้บริหารกรม ปรับกลยุทธ์ในการสื่อสาร คณะทำงานฯ** พิจารณาเปิด Operation center สรต.(PHER)/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการตามขั้นตอน รายงานผล การดำเนินการ

  12. ภาคีเครือข่าย

  13. องค์ประกอบการสื่อสารความเสี่ยง : “สารและสื่อ” • ประเภทข้อความ • ข้อความเตือน • ข้อความสร้างความกลัว • ข้อความให้ตีความ • ข้อความสอนการปฏิบัติตน • ข้อความสร้างการรับรู้ • ข้อความที่แก้ไขความเข้าใจผิด • ความกังวล • ความคาดหวัง • ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรม • รูปแบบการดำเนินชีวิต • ระยะของสถานการณ์ • ระยะเตรียมตัว • ระยะตอบโต้ • ระยะฟื้นฟู • ระยะเตรียมตัว • ตรวจตราสิ่งแวดล้อม • ติดตามประเด็น • จัดการประเด็น • วางแผนรับมือวิกฤต • ประเภทสื่อ • สื่อบุคคล • สื่อมวลชน • สื่อเฉพาะกิจ • ข้อควรคำนึง • กลุ่มผู้รับสาร ช่วงเวลา • บรรยากาศแวดล้อม ทักษะที่จำเป็น • พฤติกรรมการรับสาร • ความสมบูรณ์ของสารเวลา ปฏิกิริยา โอกาสเปิดรับความเร็วในการเข้าถึง • ระยะตอบโต้ • ส่งเสริมให้มีความตระหนักและเข้าใจ • ส่งเสริมเกิดความเชื่อมั่นและไว้วางใจ • ส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการความเสี่ยง • ประเภทกลุ่มเป้าหมาย • - หน่วยงานรัฐอื่นๆ • ผู้นำชุมชน • ประชาชน ลักษณะการนำเสนอ คำขวัญหรือสโลแกน คำย่อ คำอุปมาอุปไมย คำสั้นๆง่ายๆ คำแทน เลียนแบบคำอื่น ประโยคถาม-ตอบ กระตุ้นให้รีบปฏิบัติ ทิ้งท้ายให้คิดเอง ใช้คำพ้องเสียง • ระยะฟื้นฟู • สำรวจความพึงพอใจ • ฟื้นฟูภาพลักษณ์ ภาพประกอบ สร้างอารมณ์ร่วมให้เกิดการเปิดรับสาร กลยุทธ์สื่อ

  14. Monitor and Response in Risk Communication (MRRC) ขอบคุณค่ะ

More Related