1 / 48

Competency Assessment & IDP communication 17 มีนาคม 2551

Competency Assessment & IDP communication 17 มีนาคม 2551. จุดมุ่งหมาย. วัตถุประสงค์. สร้างความเข้าใจร่วมกันถึงวิธีการใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อการประเมินสมรรถนะ สำหรับการพัฒนา. ความรู้ ทักษะ ความเชี่ยวชาญ ทัศนคติ ความสามารถ ค่านิยม แรงจูงใจ แรงขับเคลื่อนภายใน ใจรักที่จะทำ.

ima-hess
Download Presentation

Competency Assessment & IDP communication 17 มีนาคม 2551

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Competency Assessment& IDP communication 17 มีนาคม2551

  2. จุดมุ่งหมาย วัตถุประสงค์ สร้างความเข้าใจร่วมกันถึงวิธีการใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการประเมินสมรรถนะ สำหรับการพัฒนา

  3. ความรู้ • ทักษะ • ความเชี่ยวชาญ • ทัศนคติ • ความสามารถ • ค่านิยม • แรงจูงใจ • แรงขับเคลื่อนภายใน • ใจรักที่จะทำ Competency คือ อะไร? สมรรถนะ “หมวดหมู่ของพฤติกรรมการทำงานที่องค์กรคาดหวัง อันนำไปสู่ผลการปฏิบัติงานที่ดีที่สุด ” พฤติกรรม การทำงาน ผลการปฏิบัติงานที่ดีเลิศ • สังเกตได้ วัดประเมินได้ • สามารถเข้าใจและปรับตัวได้ง่าย • เรียนรู้และปรับเปลี่ยนได้ • นำไปสู่ผลสัมฤทธิ์

  4. ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นดอนที่ 2 กำหนดกิจกรรมเพื่อการพัฒนาตามรายการสมรรถนะ กำหนดมาตรฐานสมรรถนะตามตำแหน่ง สร้างรายการสมรรถนะหลัก และสมรรถนะตามสายงาน ขั้นตอนที่ 5 ขั้นตอนที่ 4 สรุป และ จัดทำแผนฝึกอบรมประจำปี ประเมินสมรรถนะ และจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล ขั้นตอนการใช้งานรายการสมรรถนะเพื่อการพัฒนา การใช้งานรายการสมรรถนะเพื่อการพัฒนา

  5. ประโยชน์การใช้รายการสมรรถนะเพื่อการพัฒนาบุคลากรประโยชน์การใช้รายการสมรรถนะเพื่อการพัฒนาบุคลากร แนวทางการพัฒนาบุคลากรของกรมฯ ที่เป็นระบบ และกระบวนการ • ผู้ปฏิบัติงานแต่ละคนได้รับการพัฒนาสอดคล้องกับความจำเป็น • ผู้บังคับบัญชามีเครื่องมือช่วยในการพัฒนาผู้ปฏิบัติงานในความดูแล • กรมฯ ใช้งบประมาณเพื่อการพัฒนาบุคลากรอย่างมีประสิทธิภาพ ความชัดเจนถึงพฤติกรรมในการทำงานที่องค์กรต้องการ • ค่านิยมในการทำงาน มีความชัดเจนในลักษณะของพฤติกรรมที่พึงประสงค์ • ผู้บริหารทุกระดับมีเครื่องมือช่วยในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ปฏิบัติงาน การวางรากฐานในการดำเนินการด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลในอนาคต • กรมฯ และผู้บริหารมีเครื่องมือช่วยในการรับบุคลากรใหม่ • กรมฯ และผู้บริหารมีเครื่องมือช่วยในการวางแผนการสืบทอดตำแหน่ง

  6. การประเมินสมรรถนะ และการจัดทำ IDP

  7. การประเมินสมรรถนะ • การประเมินสมรรถนะครั้งนี้ ทำเพื่อการพัฒนา ไม่เกี่ยวข้องกับการประเมินผลงาน และการจ่ายค่าตอบแทน 2 บทบาทที่สำคัญ ผู้ประเมิน • เป็นผู้บังคับบัญชาชั้นต้น (Immediate Supervisor) • เป็นผู้เข้าใช้โปรแกรม เพื่อให้คะแนนลูกน้อง • กำหนดแผนพัฒนาลูกน้องรายบุคคล ผู้รับการประเมิน • ผู้ใต้บังคับบัญชาโดยตรง (Direct Reports) • เป็นผู้เข้าใช้โปรแกรมเพื่อให้คะแนนตนเอง (Self-Assessment) • รับทราบผลคะแนนประเมิน และแผนพัฒนาตนเอง จากหัวหน้า

  8. วิธีการประเมินสมรรถนะวิธีการประเมินสมรรถนะ สังเกต/ทบทวน พฤติกรรม และวิธีการทำงาน ที่เป็นประเด็นสำคัญ เลือก “ระดับ” สมรรถนะที่ ใกล้เคียงกับ พฤติกรรมที่สังเกตพบ เปรียบเทียบ อ่าน พฤติกรรมชี้วัดทุกระดับใน รายการสมรรถนะ Competency Model

  9. ข้อควรระวัง ในการสังเกต/ทบทวนพฤติกรรมการทำงาน ไม่ควร นึกถึงแต่เรื่องราวที่พึ่งเกิดขึ้น (Recency Effects) ไม่ควร นำพฤติกรรมที่ไม่เกี่ยวข้องกับการทำงาน มาประเมิน พิจารณาที่ พฤติกรรมการทำงาน ไม่ใช่ที่ผลงาน (คนที่ทำผลงานได้ดีอาจมีพฤติกรรมที่ไม่ดีเสมอไป คนที่มีผลงานไม่ดีอาจมีพฤติกรรมที่ดีก็ได้) แต่ละคน สมควรมีทั้งจุดอ่อนและจุดแข็ง ไม่จำเป็นต้องดีทั้งหมด หรือแย่ทั้งหมด “ในเมื่อเรื่องนั้นทำได้ขนาดนั้น ที่เหลือก็ประมาณนั้นแหละ” (Halo Effects) “คนคนนี้ทำอะไรก็คงแย่ ก็เหมือนเรื่องนั้นนั่นแหละ” (Horns Effects)

  10. เลือกระดับสมรรถนะ อย่างไร? • ให้ตอบคำถามว่า ทำพฤติกรรมที่ระดับใด “บ่อยที่สุด” • หาก ปรากฎพฤติกรรม ที่แสดงออก ตรงกับหลายระดับ ให้ตอบคำถามว่า ทำพฤติกรรมระดับใด “บ่อยกว่ากัน” • หากปรากฎพฤติกรรม ที่แสดงออก “บ่อย” เท่า ๆ กันทั้ง 2 ระดับ ให้เลือกระดับที่สูงกว่า • ควรจะมีการแสดงพฤติกรรมจริง เกินครึ่งของจำนวน พฤติกรรมชี้วัด ของแต่ละระดับ • หากผู้ถูกประเมิน ไม่แสดงพฤติกรรม ภายใต้สมรรถนะนั้น ให้คะแนน 0 • หากสมรรถนะใด ที่ผู้ถูกประเมินไม่มีโอกาสได้แสดงออก ให้ละเว้นจากการประเมิน (เลือก N/A จะไม่ถูกนำไปคิดคะแนน)

  11. พฤติกรรมชี้วัด ตัวอย่าง

  12. คำแนะนำเพิ่มเติม • การประเมินสมรรถนะ มาจากการ สังเกตพฤติกรรม เทียบกับพฤติกรรมตามสมรรถนะต้นแบบ ไม่ได้ใช้การวิเคราะห์ หรือความรู้สึก • การประเมินสมรรถนะเป็นไป เพื่อการพัฒนา ไม่เกี่ยวข้องกับการประเมินผลงาน และการจ่ายค่าตอบแทน • คะแนนการประเมินสมรรถนะของแต่ละคน ไม่สามารถนำมาเปรียบเทียบกันได้ เพราะแต่ละคนมีสมรรถนะ และพฤติกรรมชี้วัดที่แตกต่างกัน • ผู้ที่ได้คะแนนการประเมินสมรรถนะน้อยกว่ามาตรฐาน ไม่ได้แปลว่าไม่มีความสามารถเสมอไป • ต้องแยกแยะความ ถูกใจหรือขัดใจ ออกจากการประเมินสมรรถนะ • เทียบระหว่างพฤติกรรมของคนกับพฤติกรรมต้นแบบ ไม่ใช่ระหว่างคนกับคน

  13. คำแนะนำเพิ่มเติม • ถ้าให้คะแนนการประเมินสมรรถนะตนเอง • สูงหรือต่ำเกินไปจะทำให้ • ผู้บังคับบัญชาได้รับข้อมูลที่ผิดพลาด • องค์กรอาจกำหนดแผนพัฒนารายบุคคลที่ผิดพลาดสำหรับเรา • ผู้บังคับบัญชาไม่เชื่อถือ ผลการประเมินสมรรถนะในภาพรวม คะแนนการประเมินสมรรถนะที่สูงเกินไป ไม่ทำให้การประเมินผลงานดีขึ้น เงินเดือนไม่ขึ้น แต่ทำให้เกิดการพัฒนา ที่ไม่ตรงจุด คะแนนการประเมินสมรรถนะที่ต่ำเกินไป ไม่ทำให้การประเมินผลงานแย่ลง เงินเดือนไม่ลด แต่ทำให้เกิดการพัฒนา ที่ไม่ตรงจุด • ถ้าให้คะแนนการประเมินสมรรถนะผู้ใต้บังคับบัญชา สูงหรือต่ำเกินไป จะทำให้ • ไม่รู้ว่าสมรรถนะข้อใดสมควรได้รับการพัฒนาส่งเสริมกันแน่ • คะแนนประเมินสมรรถนะในภาพรวมผิดเพี้ยนไป • องค์กรไม่เชื่อถือคะแนนการประเมินสมรรถนะในฐานะผู้บังคับบัญชาของเรา

  14. การเลือกสมรรถนะเป้าหมายฯ จากสมรรถนะที่ปรากฏช่องว่าง เพื่อการพัฒนา (Gap) การเลือกสมรรถนะเป้าหมายฯ จากสมรรถนะที่ปรากฏเป็นจุดเด่น (Strength) การจัดทำ IDP จากผลการประเมินสมรรถนะ ตัวอย่าง

  15. แผนพัฒนารายบุคคล ความเป็นเอกภาพ 23-07-2007 เข้าร่วมฝึกอบรมตามกำหนด หลักสูตรการสร้างความมีส่วนร่วมจากผู้ใต้บังคับบัญชา • การฝึกอบรม 23-08-2007 เข้าร่วมฝึกอบรมตามกำหนด ยืดหยุ่นและปรับตัวให้ทันต่อความเปลี่ยนแปลง หลักสูตรการช่วยผู้อื่นให้เปลี่ยนแปลง • การฝึกอบรม ฝึกอบรม ตัวอย่าง

  16. กิจกรรมพัฒนาลูกน้อง (ใส่ใน IDP) • คอร์สฝึกอบรมประจำตัวสมรรถนะนั้น (มีให้ในตัวโปรแกรม) • คอร์สฝึกอบรมอื่นๆ ที่เห็นควร ว่าจะทำให้พัฒนาสมรรถนะเป้าหมาย หัวหน้าต้องเขียนกำหนดลงไป (ใส่ชื่อคอร์ส และคำอธิบายสั้นๆ) • ให้อ่านหนังสือแล้วมานำเสนอในที่ประชุม • ให้เป็นผู้สอนงาน แล้วมาติดตามผลกัน • ให้รับผิดชอบโครงการ/งานพิเศษ • ให้ทำงานใกล้ชิด ประกบกับหัวหน้า ในบางเรื่อง • หมุนเวียนงานในระยะสั้น แล้วมาติดตามผลกัน

  17. การวัดผลสำเร็จ ตัวอย่าง • เข้ารับการอบรมครบตามเวลาที่กำหนด • ดำเนินการตามกิจกรรมการพัฒนาที่ได้รับมอบหมาย • นำเสนอผลการศึกษาค้นคว้าต่อผู้บังคับบัญชา • ผ่านเกณฑ์ในการประเมินหลังการฝึกอบรม

  18. Competency Assessment online

  19. 1 เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต เพื่อเข้าสู่เวปไซท์ www.cpd.go.th คลิ๊กเข้าสู่ระบบ Intranet และคลิ๊กหัวข้อประเมินสมรรถนะ Online

  20. 2 เข้าสู่ระบบ โดยอาศัย พิมพ์ชื่อ Username และ Passwordที่ได้รับ ข้อแนะนำ : หากไม่สามารถเข้าสู่ระบบได้ ให้เช็คความถูกต้อง ของการพิมพ์ เช่น - การใช้ตัวอักษรภาษาไทย / อักษรภาษาอังกฤษ - การใช้ตัวอักษร พิมพ์ใหญ่ /พิมพ์เล็ก เป็นต้น ***หากไม่สำเร็จให้ลองเปลี่ยน เครื่องคอมพิวเตอร์ ใส่ Username & Password ที่นี่

  21. 3 เข้าสู่การประเมินสมรรถนะ โดยคลิ๊กเลือกแถบด้านบน ที่ระบุคำว่า Assessment ข้อแนะนำ : หากหน้าจอแสดงภาพ ทางด้านซ้ายมืออยู่แล้ว ให้เข้าสู่ขั้นตอนที่ 4 ได้ทันที

  22. 4 คลิ๊กเลือกชื่อของผู้ที่ต้องการประเมินสมรรถนะ คลิ๊กเลือกชื่อตัวท่านเพื่อประเมินตัวเอง คลิ๊กเลือกชื่อผู้ใต้บังคับบัญชา ที่เราต้องการประเมิน สมรรถนะ

  23. 4 ขั้นตอนนี้ สำหรับผู้บังคับบัญชา เท่านั้น ข้อแนะนำเพิ่มเติม : ในการประเมินสมรรถนะข้อผู้ใต้บังคับบัญชา ท่านสามารถดูผลการประเมินสมรรถนะของตนเองของผู้ใต้บังคับบัญชา โดยกดที่เครื่องหมาย บวก หน้าชื่อของผู้ใต้บังคับบัญชาแต่ละคน คลิ๊กเพื่อพิจารณาผลการประเมินตนเองของผู้ใต้บังคับบัญชา

  24. 4 ขั้นตอนนี้ สำหรับผู้บังคับบัญชา เท่านั้น ตัวเลขแสดงระดับของสมรรถนะ จุด และเส้นสีแดงประ แสดงระดับของสมรรถนะที่องค์กรคาดหวัง จุด และเส้นสีเขียวทึบ แสดงระดับของสมรรถนะที่ผู้ประเมินสังเกตพบ ชื่อสมรรถนะ แต่ละข้อ

  25. 5 พิจารณาพฤติกรรมชี้วัดในแต่ละระดับ (ดำเนินการไปที่ละสมรรถนะ) คลิ๊กที่คำจำกัดความในแต่ละระดับ เพื่ออ่านพฤติกรรมชี้วัดที่ระบุเอาไว้เสียก่อน จนครบทุกระดับ ชื่อ และคำนิยามของสมรรถนะ แต่ละข้อ พฤติกรรมชี้วัด ที่เป็นต้นแบบขององค์กรในแต่ละระดับ

  26. 6 คลิ๊กเลือกระดับของสมรรถนะ เลือกพฤติกรรมชี้วัด ตรงกับ พฤติกรรมในการทำงานจริง ของผู้ที่เรากำลังประเมินสมรรถนะมากที่สุด

  27. 6 ไม่เคยสังเกตพบพฤติกรรมใดๆ ที่อยู่ในสมรรถนะนี้ (0) สมรรถนะนี้ไม่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานในตำแหน่งงานของบุคคลนี้ (N/A) ในกรณีที่ผู้ถูกประเมินไม่เคยแสดงพฤติกรรมในสมรรถนะนั้นๆ ในกรณีที่ท่านเห็นว่าสมควรที่จะตัดสมรรถนะตัวนี้ออกจากแบบประเมินสรรถนะนี้

  28. 7 พิมพ์ความคิดเห็นเพิ่มเติม • ข้อแนะนำ : ความคิดเห็นเพิ่มเติม มักจะเป็นประเด็นดังต่อไปนี้ • สมรรถนะ หรือพฤติกรรมเด่น ของผู้รับการประเมินฯ • สมรรถนะ หรือพฤติกรรมด้อย ของผู้รับการประเมินฯ • กิจกรรมเพื่อการพัฒนาที่เหมาะสม กับผู้รับการประเมินฯ

  29. 8 คลิ๊กเพื่อบันทึก&คลิ๊กเพื่อส่ง คลิ๊กเพื่อบันทึกผลไว้ก่อน (ยังแก้ไขได้) คลิ๊กเพื่อส่งผลการประเมิน (แก้ไขไม่ได้)

  30. 8 คลิ๊ก OK ถ้าต้องการส่งผลการประเมิน เมื่อส่งผลการประเมินแล้วผู้ประเมิน “ไม่”สามารถแก้ไขผลการประเมินได้อีก คลิ๊ก Cancel ถ้าต้องการ “ยกเลิก” การส่งผลการประเมิน

  31. 8 หากยังไม่ทำการประเมินฯ จะปรากฏสถานนะ คำว่า New บันทึกผลการประเมิน แล้ว หากเข้าสู่ระบบครั้งต่อไปจะปรากฏ สถานะ คำว่า Draft ส่งผลการประเมิน แล้ว หากเข้าสู่ระบบครั้งต่อไปจะพบว่า คำว่า Completeและภาพคนจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำเงิน

  32. 9 การพิจารณาผลการประเมิน หากต้องการพิจารณาผลการประเมินสมรรถนะ ให้คลิ๊กที่ภาพ  ตัวเลขแสดงระดับของสมรรถนะ จุด และเส้นสีแดงประ แสดงระดับของสมรรถนะที่องค์กรคาดหวัง จุด และเส้นสีเขียวทึบ แสดงระดับของสมรรถนะที่ผู้ประเมินสังเกตพบ ชื่อสมรรถนะ แต่ละข้อ

  33. กรณีต้องการพิมพ์แบบสอบถามเพื่อการพิจารณากรณีต้องการพิมพ์แบบสอบถามเพื่อการพิจารณา

  34. IDP online

  35. 1 ขั้นตอนนี้ ทำเช่นเดียวกับการเข้าระบบเพื่อประเมินสมรรถนะ เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต เพื่อเข้าสู่เวปไซท์ www.cpd.go.thเข้าระบบ Intranet คลิ๊กประเมินสมรรถนะ Online เข้าสู่ระบบ โดยอาศัย พิมพ์ชื่อ Username และ Passwordที่ได้รับ

  36. 2 เข้าสู่การทำ IDP โดยคลิ๊กเลือกแถบด้านบน ที่ระบุคำว่า IDP

  37. 3 คลิ๊กเลือกชื่อของผู้ที่ต้องการจัดทำแผนพัฒนา คลิ๊กเลือกชื่อผู้ใต้บังคับบัญชา ที่เราต้องการจัดทำแผนพัฒนาฯ

  38. 4 เลือกสมรรถนะ ที่ต้องการจัดทำแผนพัฒนาฯ ระบบจะดึงรายการสมรรถนะ ที่ปรากฏช่องว่างเพื่อการพัฒนา จากมากไปน้อย คลิ๊กหน้าชื่อสมรรถนะที่ต้องการทำแผนพัฒนา

  39. 5 เลือกกิจกรรมเพื่อการพัฒนา หลักสูตรฝึกอบรม หลักสูตร xxx หลักสูตร YYY อื่น ๆ ชื่อกิจกรรมที่นอกเหนือจากที่มีในระบบ เลือกกิจกรรมเพื่อการพัฒนาที่ต้องการ

  40. 5 หลักสูตรฝึกอบรม หลักสูตร xxx หลักสูตร YYY อื่น ๆ ชื่อกิจกรรมที่นอกเหนือจากที่มีในระบบ • คอร์สฝึกอบรมประจำตัวสมรรถนะนั้น (มีให้ในตัวโปรแกรม) • คอร์สฝึกอบรมอื่นๆ ที่เห็นควร ว่าจะทำให้พัฒนาสมรรถนะเป้าหมาย หัวหน้าต้องเขียนกำหนดลงไป (ใส่ชื่อคอร์ส และคำอธิบายสั้นๆ) • ให้อ่านหนังสือแล้วมานำเสนอในที่ประชุม • ให้เป็นผู้สอนงาน แล้วมาติดตามผลกัน • ให้รับผิดชอบโครงการ/งานพิเศษ • ให้ทำงานใกล้ชิด ประกบกับหัวหน้า ในบางเรื่อง • หมุนเวียนงานในระยะสั้น แล้วมาติดตามผลกัน

  41. หลักสูตรฝึกอบรม หลักสูตร xxx หลักสูตร YYY อื่น ๆ ชื่อกิจกรรมที่นอกเหนือจากที่มีในระบบ 6 ระบุวันครบกำหนด และ การวัดผลสำเร็จ วิธีการวัดผลสำเร็จ เช่น • เข้ารับการอบรมครบตามเวลาที่กำหนด • ดำเนินการตามกิจกรรมการพัฒนาที่ได้รับมอบหมาย • นำเสนอผลการศึกษาค้นคว้าต่อผู้บังคับบัญชา • ผ่านเกณฑ์ในการประเมินหลังการฝึกอบรม

  42. 7 คลิ๊กเพื่อบันทึก&คลิ๊กเพื่อส่ง คลิ๊กเพื่อบันทึกผลไว้ก่อน (ยังแก้ไขได้) คลิ๊กเพื่อส่งผลการประเมิน (แก้ไขไม่ได้)

  43. 7 คลิ๊ก OK ถ้าต้องการส่งผลการทำ IDP เมื่อส่งผลการทำ IDP แล้วผู้บังคับบัญชา “ไม่”สามารถแก้ไขแผนพัฒนาได้อีก คลิ๊ก Cancel ถ้าต้องการ “ยกเลิก” การส่งผลการทำ IDP

  44. 8 การพิจารณา ผลการจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล เมื่อส่งผลการทำแผนพัฒนารายบุคคลแล้ว จะปรากฏสถานะ คำว่า Complete และ ชื่อผู้ใต้บังคับบัญชาเปลี่ยนเป็นสีน้ำเงิน คลิ๊ก เพื่อดูแผนพัฒนารายบุคคลของผู้ใต้บังคับบัญชา ที่จัดทำไว้

  45. แผนพัฒนารายบุคคล คลิ๊ก เพื่อสั่งพิมพ์ คลิ๊ก เพื่อปิด

  46. Hints ข้อควรปฏิบัติ ตอบแบบสอบถามด้วยความจริง • ตอบแบบสอบถามกลับมาตรงเวลา • ตั้งใจตอบแบบสอบถามด้วยตนเองคนเดียว • ให้คะแนนและข้อสังเกตจากข้อเท็จจริง • ให้ข้อสังเกตเพื่อสร้างสรรค์ ให้ผู้รับ feedback นำไปพัฒนาตนเองได้ ใช้ประโยชน์เพื่อพัฒนาตนเอง • ทัศนคติเปิดกว้างและมองผลคะแนนและข้อสังเกตจาก Report ในแง่ดี เห็นเป็นของขวัญ ด้วยความขอบคุณ • เข้ารับการฝึกอบรมหรือพัฒนาตาม IDP ของตนเอง เพราะเป็นผลดีต่อทั้งตัวเองและต่อกรมฯ

  47. Competency Assessment & IDP Online ข้อควรปฏิบัติเพิ่มเติม • ระบบจะทำการล็อคตัวเองใน 15 นาทีเพื่อป้องกันการ Hack ข้อมูลหากไม่มีการ กระทำการใดจาก User ดังนั้น ควรทำการ Saveข้อมูลภายใน 15 นาทีเพื่อป้องกัน ไม่ให้ข้อมูลสูญหาย • ในกรณีที่ท่านคลิกที่ชื่อ แล้วไม่ปรากฏแบบสอบถาม ต้อง ปิด คำสั่ง Pop upBlocker โดยเลือกคำสั่ง Tools Pop-up Blocker → Turn off Pop up Blocker

  48. Q & A สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมที่ กลุ่มพัฒนาระบบงานและอัตรากำลัง กกจ. โทร .0 2282 8807, 0 2628 9809

More Related