1 / 24

Guideline for owlation induction in anovulatory Pcos

Guideline for owlation induction in anovulatory Pcos. พ.ญ.มัธชุพร สุขประเสริฐ นพ.ศรีเธียร เลิศวิกูร พ.ญ.ชุติมา โตพิพัฒน์. Recommondation ACOG. Ia. meta-analysis of randomised controlled trials. Ib. at least one randomised controlled trial. IIa. at least one well-designed controlled study

ikia
Download Presentation

Guideline for owlation induction in anovulatory Pcos

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Guideline for owlation induction in anovulatory Pcos พ.ญ.มัธชุพร สุขประเสริฐ นพ.ศรีเธียร เลิศวิกูร พ.ญ.ชุติมา โตพิพัฒน์

  2. Recommondation ACOG Ia. meta-analysis of randomised controlled trials. Ib. at least one randomised controlled trial. IIa. at least one well-designed controlled study without randomisation. IIb. at least one other type of well-designed quasi-experimental study. III. well-designed non-experimental descriptive studies. IV. Expert commmittee reports or opinions and/or clinical experience.

  3. Recommondation ACOG • Requires at least one randomised controlled trial. • (Evidence levels Ia , Ib) B. Requires the availlability of well controlled clinical stydies but no randomised clinical trials. (Evidence levels IIa , IIb, III) C. Requires evidence obtained from expert committee or opinions. (Evidence levels IV)

  4. Problem of infertility in PCOS Mostly : Anowlation

  5. Step for Mx strategies of PCOS Steb 1 Life style modification. Steb 2 Medication for owlation mduction. Steb 3 Gunadotropins vs LOD. Steb 4 I V F

  6. STEB 1 Life style Modification • Diet • Exercise • Medication & Bariatnc Sx • Antiobesity

  7. ตารางที่ 1 ผลของการรักษาด้วยยา Clomiphene citrate

  8. ตารางที่ 2 ผลของการตั้งครรภ์ภายหลังการรักษา Clomiphene citrate

  9. ตารางที่ 1 ผลของการรักษาด้วยยา Clomiphene citrate

  10. ตารางที่ 2 ผลของการตั้งครรภ์ภายหลังการรักษา Clomiphene citrate

  11. ตารางที่ 1 กลไกการออกฤทธิ์ของยา Metformin และยา Thiazolidinediones ก. Metformin • ยับยั้งการผลิตกลูโคสจากตับ • - ยับยั้งขบวนการ Gluconeogenesis • -ยับยั้งขบวนการสลายไกลโคเจน 2. เพิ่มฤทธิ์ของอินซูลินในเซลล์กล้มเนื้อลายและไขมัน - เพิ่มการขนส่งกลูโคสเข้าเซลล์ -เพิ่มการสร้างไกลโคเจน - เพิ่มการสร้างไขมัน 3. เพิ่มความไวของอินซูลินและปรับการทำงานของเซลล์เบต้าของตับอ่อน 4. ลดการดูดซึมกลูโคสที่ลำไส้และเก็บกักกลูโคสในผนังลำไส้เล็ก

  12. ตารางที่ 1 กลไกการออกฤทธิ์ของยา Metformin และยา Thiazolidinediones ข. Thiazolidinediones • เพิ่มความไวของอินซูลินในตับ • - เพิ่มการดูดซึมไขมัน • -เพิ่มการใช้พลังงาน • - ยับยั้งขบวนการ Gluconeogenesis 2. เพิ่มความไวของอินซูลินในกล้ามเนื้อลาย - เพิ่มการดูดซึมกลูโคส -เพิ่มการใช้พลังงาน • เพิ่มความไวของอินซูลินในเนื้อเยื่อไขมัน • - เพิ่มการดูดซึมกลูโคส • - เพิ่มการดูดซึมไขมัน • - เพิ่มการใช้พลังงาน

  13. ►ข้อมูลในปัจจุบันสนับสนุนให้ใช้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทาน►ข้อมูลในปัจจุบันสนับสนุนให้ใช้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทาน อาหารร่วมกับการออกกำลังกายแบบแอโรบิค เป็นทางเลือกแรกในการชักนำให้ ไข่ตกในสตรีที่มีภาวะถุงน้ำรังไข่หลายใบ (Evidence level Ib – III : Recommendation A)

  14. ►Clomiphene citrate ยังคงเป็นยาตัวแรกที่แนะนำให้ใช้ในการ ชักนำให้ไข่ตกในสตรีที่มีภาวะถุงน้ำหลายใบ (Evidence level Ia – IIb : Recommendation A)

  15. ►การใช้ยา metformin เป็นยาตัวแรกสำหรับชักนำให้เกิดการตกไข่ ในสตรีที่มีภาวะถุงน้ำหลายใบ ข้อมูลยังคงขัดแย้งกันอยู่ และอัตราการตกไข่ จะสูงขึ้นถ้าใช้ยา metformin นานขึ้น โดยเริ่มให้ที่ขนาดต่ำก่อนและ ค่อยๆปรับเพิ่มขนาดขึ้นตามดัชนีมวลกาย (Evidence level Ib – IIb : Recommendation A)

  16. ►การใช้ยา metformin ร่วมไปกับclomiphene citrate ในสตรีที่มีภาวะถุงน้ำหลายใบที่มีภาวะไม่ตอบสนองต่อ clomiphene citrate ช่วยเพิ่มอัตราการตกไข่ และอัตราการตั้งครรภ์ (Evidence level Ib – IIb : Recommendation A)

  17. ►ยังไม่มีข้อมูลเพียงพอถึงการใช้ short course metformin (< 4 สัปดาห์ )ในการชักนำให้เกิดการตกไข่ในสตรีที่มีภาวะถุงน้ำรังไข่หลายใบ (Evidence level IA – III : Recommendation A)

  18. ►การใช้ยา metformin ร่วมไปกับclomiphene citrate ในการชักนำให้เกิดการตกไข่ในสตรีที่มีภาวะถุงน้ำหลายใบที่มีภาวะไข่ไม่ตกไม่ได้ ผลการรักษาที่ดีไปกว่าการได้รับ clomiphene citrate เพียงตัวเดียว (Evidence level Ia – IIb : Recommendation A)

  19. การใช้ยาเพิ่มความไวอินซูลินในกลุ่ม Thiazolidinediones เพื่อชักนำให้เกิดการตกไข่ พบว่ายังไม่มีข้อมูลเพียงพอที่จะนำยากลุ่มนี้มาใช้ เพื่อชักนำให้เกิดการตกไข่ในสตรีกลุ่มอาการที่รังไข่มีถุงน้ำหลายใบโดยทั่ว ๆไป (Evidence level Ib – Ill : Recommendation A)

  20. การนำยาต้านเอนไซม์ aromatase (letrozole) มาใช้ในการ ชักนำไข่ตกในกลุ่มผู้ป่วย PCOS มีประสิทธิภาพดี ทั้งในกลุ่มที่ไม่ ตอบสนองต่อยา clomiphene citrate และกลุ่มที่ใช้ยา letrozole แบบ first-line อย่างไรก็ตามควรพิจารณาความ เหมาะสมใช้ด้านราคาและความสะดวกในการใช้ รวมถึง อาการข้างเคียง นอกจากนี้ ข้อมูลผลของยาต่อทารกยังมีค่อนข้างน้อย (Evidence level Ib – Ill : Recommendation A)

  21. END

More Related