1 / 27

วิชาชีพ สอบบัญชี

วิชาชีพ สอบบัญชี. พัฒนาการของวิชาชีพสอบบัญชี. พัฒนาการของวิชาชีพสอบบัญชีในต่างประเทศ พัฒนาการของวิชาชีพสอบบัญชีในประเทศไทย. สถาบันการสอบบัญชีในต่างประเทศ. สหพันธ์นักบัญชีระหว่างประเทศ International Federation of Accountants ;IFAC สมาคมผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศสหรัฐอเมริกา

Download Presentation

วิชาชีพ สอบบัญชี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิชาชีพสอบบัญชี

  2. พัฒนาการของวิชาชีพสอบบัญชีพัฒนาการของวิชาชีพสอบบัญชี • พัฒนาการของวิชาชีพสอบบัญชีในต่างประเทศ • พัฒนาการของวิชาชีพสอบบัญชีในประเทศไทย

  3. สถาบันการสอบบัญชีในต่างประเทศสถาบันการสอบบัญชีในต่างประเทศ • สหพันธ์นักบัญชีระหว่างประเทศ • International Federation of Accountants ;IFAC • สมาคมผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศสหรัฐอเมริกา • American Institute of Certified Public Accountants ;AICPA • สมาคมผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศอังกฤษ • Institute of Chartered Accountants in England and Wales: ICAEW • สถาบันผู้ตรวจสอบภายในสากล • The Institute of Internal Auditors; IIA • สมาคมผู้ตรวจสอบและควบคุมระบบสารสนเทศ(ISACA)

  4. สถาบันทางการสอบบัญชีในประเทศไทยสถาบันทางการสอบบัญชีในประเทศไทย • สถาบันการศึกษา • สถาบันวิชาชีพ • สถาบันกำกับดูแล

  5. สถาบันวิชาชีพ • สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ • สมาคมผู้ตรวจสอบภายในแห่งประเทศไทย • สมาคมผู้ตรวจสอบและควบคุมระบบสารสนเทศ - ภาคพื้นกรุงเทพฯ • สมาคมการบัญชีไทย

  6. สถาบันกำกับดูแล • คณะกรรมการกำกับดูแลการประกอบวิชาชีพ (กกบ.) • สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์ – ดูภาพ 2-1 • หน่วยงานอื่นของรัฐที่ทำหน้าที่กำกับดูแลวิชาชีพสอบบัญชี

  7. คณะกรรมการกำกับดูแลการประกอบวิชาชีพ (กกบ.) พรบ.วิชาชีพบัญชี พ.ศ.2547 กำหนดให้มี กกบ. ซึ่งมีอำนาจหน้าที่ดังนี้ • กำกับดูแลสภาวิชาชีพบัญชี • ให้ความเห็นชอบข้อบังคับสภาวิชาชีพบัญชีที่สำคัญและมาตรฐานการบัญชี • เสนอแนะให้มีการตราพระราชกฤษฎีกากำหนดให้การประกอบวิชาชีพใดที่ต้องได้รับใบอนุญาต หรือจดทะเบียนกับสภาวิชาชีพฯ • พิจารณาอุทธรณ์ของผู้ขอรับใบอนุญาตเป็นผู้สอบบัญชีรับอนุญาต หรือของผู้กล่าวหา

  8. สภาวิชาชีพบัญชี พรบ. วิชาชีพบัญชี พ.ศ.2547 กำหนดให้มีสภาวิชาชีพบัญชี • มีฐานะเป็นนิติบุคคล ประกอบด้วย คณะกรรมการสภาวิชาชีพบัญชี คณะกรรมการวิชาชีพบัญชีแต่ละด้าน คณะกรรมการกำหนดมาตรฐานการบัญชี คณะกรรมการจรรยาบรรณ และสมาชิกสภาวิชาชีพ • มีอำนาจหน้าที่ในการกำหนดมาตรฐานการบัญชีและการสอบบัญชีกำหนดจรรยาบรรณรับขึ้นทะเบียนประกอบวิชาชีพบัญชีออก/พัก/ถอนใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี ให้คำปรึกษาและเสนอแนะต่อรัฐบาลเกี่ยวกับนโยบายและปัญหาของวิชาชีพบัญชี

  9. หน่วยงานอื่นของรัฐฯ กรมสรรพากร กำหนดให้ผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีของบริษัทและห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ต้องรักษาจรรยาบรรณ ปฏิบัติงานตรวจสอบและรับรองบัญชีตามที่อธิบดีกรมสรรพากรกำหนด และทดสอบรายการในแบบแจ้งข้อความของกรรมการ หรือผู้เป็นหุ้นส่วน หรือผู้จัดการของบริษัท และ ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตนตรวจสอบ

  10. หน่วยงานอื่นของรัฐฯ สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์(กลต.) กำหนดให้จัดทำและส่งงบการเงิน และรายงานเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดำเนินงาน การเปิดเผยตามที่ กลต.กำหนด งบการเงินต้องมีผู้สอบบัญชี ตรวจสอบหรือสอบทาน ผู้สอบบัญชีต้องได้รับความเห็นชอบจาก กลต.

  11. หน่วยงานอื่นของรัฐฯ ธนาคารแห่งประเทศไทย(ธปท.) ในกิจการธนาคาร เงินทุนและเครดิตฟองซิเอร์ ธปท.ใช้อำนาจหน้าที่ในการควบคุมดูแลการปฏิบัติของผู้สอบบัญชี โดยผู้สอบบัญชีจะต้องได้รับความเห็นชอบจากธปท. สนง.คณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย บริษัทที่ประกอบธุรกิจประกันชีวิต ต้องจัดทำและยื่นงบการเงินราย ไตรมาสที่ผู้สอบบัญชีได้สอบทานแล้ว และงบการเงินสำหรับรองปีปฏิทินที่ผู้สอบบัญชีตรวจสอบและแสดงความเห็นแล้ว

  12. กฎหมายการบัญชีและการสอบบัญชีกฎหมายการบัญชีและการสอบบัญชี กฎหมายการบัญชี กฎหมายการสอบบัญชี

  13. กฎหมายการบัญชี พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เรื่อง กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ. 2554 ประกาศกรมทะเบียนการค้า เรื่อง กำหนดคุณสมบัติและเงื่อนไขของการเป็นผู้ทำบัญชี พ.ศ. 2543

  14. 1.พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ.2543 1. กำหนดผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีมี 5 ประเภท คือ - ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน - บริษัทจำกัด - บริษัทมหาชนจำกัดที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย - นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศที่ประกอบธุรกิจในประเทศไทย - กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร 2. กำหนดให้ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีต้องจัดทำและยื่นงบการเงินต่อสำนักงานกลางบัญชีหรือสำนักงานบัญชีประจำท้องที่

  15. 1.พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ.2543 กำหนดให้งบการเงินต้องมีรายการย่อตามที่อธิบดีกรมพัฒนาธุรกิจการค้ากำหนด งบการเงินต้องได้รับการตรวจสอบและแสดงความเห็นโดยผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ยกเว้นห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนขนาดเล็ก กำหนดให้ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีต้องจัดให้มีผู้ทำบัญชีซึ่งเป็นผู้มีคุณสมบัติตามที่อธิบดีกรมพัฒนาธุรกิจการค้ากำหนด และควบคุมให้ผู้ทำบัญชีจัดทำบัญชีให้ตรงต่อความเป็นจริงและถูกต้องตามกฎหมาย

  16. 2.มาตรฐานการรายงานทางการเงิน2.มาตรฐานการรายงานทางการเงิน • สภาวิชาชีพบัญชีฯ ได้กำหนดมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (Thai Financial Reporting Standards: TFRS) ออกเป็น 2 กลุ่ม • สำหรับกิจการที่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (TFRS for Publicly Accountable Entities: TFRS for PAEs) • สำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (TFRS for Non-Publicly Accountable Entities: TFRS for NPAEs)

  17. 3.ประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้าฯ3.ประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้าฯ • งบการเงินทุกแบบเป็นงบการเงินเปรียบเทียบ 2 ปี • ดูตารางที่ 2-1

  18. 4. ประกาศกรมทะเบียนการค้าฯ • คุณสมบัติผู้ทำบัญชี • มีภูมิลำเนาหรือถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร • มีความรู้ภาษาไทยเพียงพอที่จะทำหน้าที่เป็นผู้ทำบัญชีได้ • ไม่เคยต้องโทษโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก • มีคุณวุฒิไม่ต่ำกว่า ปวส. ทางการบัญชี สำหรับห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนและบริษัทขนาดเล็ก • มีคุณวุฒิไม่ต่ำกว่า ป.ตรี ทางการบัญชี สำหรับกรณีนอกเหนือจากหุ้นส่วนจดทะเบียนและบริษัทขนาดเล็ก

  19. กฎหมายการสอบบัญชี ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พ.ศ.2472 พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ.2547

  20. จรรยาบรรณของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตจรรยาบรรณของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต 1. ความโปร่งใส ความเป็นอิสระ ความเที่ยงธรรม และความซื่อสัตย์สุจริต 2. ความรู้ความสามารถและมาตรฐานในการปฏิบัติงาน 3. ความรับผิดชอบต่อผู้รับบริการและการรักษาความลับ 4. ความรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้น ผู้เป็นหุ้นส่วน หรือบุคคลหรือนิติบุคคลที่ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีปฏิบัติหน้าที่ให้

  21. จรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี หมวดที่ 1 บททั่วไป หมวดที่ 2 ความโปร่งใน ความเป็นอิสระ ความเที่ยงธรรม และความซื่อสัตย์สุจริต หมวดที่ 3 ความรู้ ความสามารถและมาตรฐานในการปฏิบัติงาน หมวดที่ 4 การรักษาความลับ หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบต่อผู้รับบริการ หมวดที่ 6 ความรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้น ผู้เป็นหุ้นส่วน บุคคลหรือนิติบุคคลที่ผู้ประกอบวิชาชีพปฏิบัติหน้าที่ให้ หมวดที่ 7 ความรับผิดชอบต่อเพื่อร่วมวิชาชีพ และจรรยาบรรณทั่วไป

  22. คำกล่าวที่น่าจดจำ • “You can fool all the people some of the time, and some of the people all the time, but you cannot fool all the people all the time.” “ท่านอาจหลอกทุกคนได้ในบางเวลา และอาจหลอกบางคนได้ตลอดเวลา แต่ท่านไม่อาจหลอกทุกคนได้ตลอดเวลา” Abraham Lincoln

  23. บทเรียนที่ผ่านมาจากการขาดจรรยาบรรณบทเรียนที่ผ่านมาจากการขาดจรรยาบรรณ Satyam Computer Service Limited • บริษัท IT outsourcing ใหญ่อันดับ 4 ของอินเดีย • ได้รางวัล “Golden Peacock Award for Corporate Governance Under Risk Management and Compliance Issues” • เงินสดไม่มีตัวตน US$ 1.1 billion ลูกหนี้ไม่มีตัวตน US$ 108 million สร้างพนักงานไม่มีตัวตน 13,000 คน • สาเหตุ – สร้างราคาหุ้นเพราะกลัวถูกเทคโอเวอร์ • ผลกระทบ – หุ้นตกจาก US$ 29.1 เหลือ US$ 1.8, CEO, CFO และผู้สอบบัญชีถูกดำเนินคดี, ถูก take over โดย MahindraSatyam

  24. บทเรียนที่ผ่านมาจากการขาดจรรยาบรรณบทเรียนที่ผ่านมาจากการขาดจรรยาบรรณ Enron • “America’s Most of Innovative Company” • “100 Best Companies to Work for in America” • มีคณะกรรมการตรวจสอบที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญ • เงินสดไม่มีตัวตน US$ 1.1 billion ลูกหนี้ไม่มีตัวตน US$ 108 million สร้างพนักงานไม่มีตัวตน 13,000 คน • สาเหตุ – ห่วงราคาหุ้นมากกว่าความถูกต้อง ใช้กลเม็ดทางการบัญชีเพื่อปกป้องราคาหุ้น • ผลกระทบ – หุ้นตกจาก US$ 90 เหลือไม่ถึงเหรียญ, President ติดคุก 24 ปี, CFO ติดคุก 6 ปี, Chairman & CFOตายก่อน และสำนักงานสอบบัญชี Arthur Anderson กลายเป็นอดีต Big 5ต้นตอของ Sarbanes-Oxley Act, 2002

  25. การควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชีการควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชี 1. ระบบการควบคุมคุณภาพของสำนักงานสอบบัญชี 2. การควบคุมคุณภาพการตรวจสอบงบการเงิน

  26. 1.ระบบการควบคุมคุณภาพของสำนักงานสอบบัญชี1.ระบบการควบคุมคุณภาพของสำนักงานสอบบัญชี • วัตถุประสงค์ • ส่วนประกอบ • ความรับผิดชอบของผู้นำต่อคุณภาพภายในสำนักงาน • ข้อกำหนดด้านจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง • การตอบรับงานและการคงไว้ซึ่งความสัมพันธ์กับลูกค้า • ทรัพยากรบุคคล • การปฏิบัติงาน • การติดตาม • การจัดทำเอกสารหลักฐาน

  27. 2. การควบคุมคุณภาพการตรวจสอบงบการเงิน องค์ประกอบที่สำคัญ • ความรับผิดชอบของผู้นำต่อคุณภาพภายในสำนักงาน • ข้อกำหนดด้านจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง • การตอบรับงานและการคงไว้ซึ่งความสัมพันธ์กับลูกค้าและงานตรวจสอบ • การมอบหมายงานของกลุ่มผู้ปฏิบัติงานตรวจสอบ • การปฏิบัติงานตรวจสอบ • การติดตามผล

More Related