1 / 75

การกระจายรายรายได้และกระจายความเจริญ สู่ชนบท

การกระจายรายรายได้และกระจายความเจริญ สู่ชนบท. จัดทำโดย นางสาว พลอยชมพู อ่ำสุริยา 444 16306 24 นางสาว รวีวัลย์ บรรจงจิตร์ 444 16341 24 นาย อนุรัตน์ สีชมภู 444 16350 24. เนื้อหาบรรยาย.

Download Presentation

การกระจายรายรายได้และกระจายความเจริญ สู่ชนบท

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การกระจายรายรายได้และกระจายความเจริญสู่ชนบทการกระจายรายรายได้และกระจายความเจริญสู่ชนบท จัดทำโดย นางสาว พลอยชมพู อ่ำสุริยา 444 16306 24 นางสาว รวีวัลย์ บรรจงจิตร์ 444 16341 24 นาย อนุรัตน์ สีชมภู 444 16350 24

  2. เนื้อหาบรรยาย • ส่วนที่1 คำแถลงนโยบาย แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติที่เกี่ยวกับการกระจายรายได้และการกระจายความเจริญสู่ชนบท และวิเคราะห์ความสอดคล้องของคำแถลงนโยบายของรัฐบาลกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ • ส่วนที่ 2 เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินนโยบายการกระจายรายได้และการกระจายความเจริญสู่ชนบท • ส่วนที่ 3 ผลจากการดำเนินนโยบายการกระจายรายได้และการกระจายความเจริญสู่ชนบท • ส่วนที่ 4 ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงนโยบายการเงินและนโยบายทางคลังในการดำเนินการระจายรายได้และการกระจายความเจริญสู่ชนบท

  3. ส่วนที่1 คำแถลงนโยบาย แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ วิเคราะห์ความสอดคล้องของคำแถลงนโยบายของรัฐบาลกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

  4. ส่วนที่ 1 คำแถลงนโยบาย • ตาราง สรุปประเด็น/แนวทางที่สำคัญในการกระจายรายได้และความเจริญสู่ชนบทในคำแถลงนโยบายของรัฐบาลแต่ละชุด • ประเด็น - แนวโน้ม ทิศทาง และความต่อเนื่องของนโยบาย - ความเข้มข้นของการดำเนินนโยบาย

  5. ส่วนที่ 1 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ • จากการศึกษาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติตั้งฉบับที่ 1 ถึงฉบับที่ 9 สามารถสรุปเป็นตารางแสดงจุดเน้น และประเด็นที่สำคัญในแต่ละแผนดังนี้

  6. ส่วนที่ 1 วิเคราะห์ความสอดคล้องของคำแถลงนโยบายของรัฐบาลกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ • เพื่อให้ง่ายต่อการเปรียบเทียบและทำความเข้าใจ จึงนำเสนอในรูปของตาราง ดังนี้

  7. ส่วนที่ 1 วิเคราะห์ความสอดคล้องของคำแถลงนโยบายของรัฐบาลกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ • จากตารางสรุปได้ 4 ประเด็น ดังนี้ 1. นโยบายการกระจายรายได้ของรัฐบาลไทย ก่อนรัฐบาลของ พตท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร จะมีลักษณะเป็นนโยบายที่อาศัยกรอบของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเป็นแนวทาง โดยแถลงนโยบายเป็นแนวทางกว้างๆ เพื่อให้เกิดความครบถ้วนสมบูรณ์ของนโยบายเท่านั้น ไม่ค่อยมีโครงการที่เป็นรูปธรรมชัดเจนเท่าใดนัก 2. นโยบายในด้านที่เกี่ยวกับการกระจายรายได้ไม่มีความต่อเนื่องมากนัก เนื่องมาจากมีการเปลี่ยนรัฐบาลบ่อยครั้ง

  8. ส่วนที่ 1 วิเคราะห์ความสอดคล้องของคำแถลงนโยบายของรัฐบาลกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 3. นโยบายของรัฐบาลปัจจุบันจะแสดงให้เห็นถึงการมุ่งกระจายรายได้สู่ชนบทที่ชัดเจนขึ้น โดยผ่านโครงการต่างๆ เช่น โครงการกองทุนหมู่บ้าน โครงการธนาคารประชาชน โครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค 4. การประเมินผลและตัวชี้วัดผลสำเร็จ เป็นสิ่งที่ไม่ได้รับการกล่าวถึงมากเท่าใดนัก

  9. ส่วนที่2 เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินนโยบายการกระจายรายได้และการกระจายความเจริญสู่ชนบท

  10. ส่วนที่ 2 นโยบายการเงิน • มาตรการที่สนับสนุนการกระจายสินเชื่อและบริการการเงินสู่ภูมิภาค ที่สำคัญได้แก่ 1. สนับสนุนสถาบันการเงินเปิดสาขาในภูมิภาค 2.การสนับสนุนสินเชื่อดอกเบี้ยต่ำ

  11. ส่วนที่ 2 นโยบายการเงิน 1. สนับสนุนสถาบันการเงินเปิดสาขาในภูมิภาค 1.1 สนับสนุนให้ธนาคารพาณิชย์เปิดสาขาและสาขาย่อยในเขตอำเภอรอบนอก 159 อำเภอ 1.2 อนุญาตให้บริษัทเงินทุนเปิดสำนักอำนวยสินเชื่อในต่างจังหวัดจำนวน 160 แห่ง ใน 23 จังหวัด 1.3 ให้กิจการวิเทศธนกิจมีบทบาทในการนำความเจริญไปสู่ภูมิภาค โดยให้กู้ยืมแก่ธุรกิจในภูมิภาคเป็นเงินบาทได้ในวงเงินสาขากิจการวิเทศธนกิจละ 1,000 ล้านบาท

  12. ส่วนที่ 2 นโยบายการเงิน 1. สนับสนุนสถาบันการเงินเปิดสาขาในภูมิภาค 1.4 มีสำนักบริการด้านหลักทรัพย์อยู่ในต่างจังหวัด --> ยกระดับสำนักงานบริการด้านหลักทรัพย์ให้เป็นสาขาของบริษัทหลักทรัพย์ 1.5 สนับสนุนการจัดตั้งสาขาในภูมิภาของธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทยในภาคการเงินให้ครบทั้ง 9 ภาค และขยายการให้บริการสินเชื่อให้ครบถ้วนในเขตอุตสาหกรรมและเขตพื้นที่ที่มีธุรกิจระหว่างประเทศอยู่ในภูมิภาค

  13. ส่วนที่ 2 นโยบายการเงิน 2.การสนับสนุนสินเชื่อดอกเบี้ยต่ำ 2.1 นโยบายส่งเสริมพิเศษในเขตส่งเสริมการลงทุนเขต 3 ซึ่งประกอบด้วย 60 จังหวัดในภูมิภาค โดยให้สินเชื่อผ่านธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงินเฉพาะกิจ 2.2 การอนุเคราะห์ทางการเงินแก่ภาคเกษตร โดยการรับซื้อตั๋วสัญญาใช้เงินที่เกิดจากการค้าพืชผลเกษตร 2.3 ให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ ในอัตราดอกเบี้ยต่ำ โดยดำเนินการผ่านทางสถาบันการเงินต่าง ๆ เช่น ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร และบรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

  14. ส่วนที่ 2 นโยบายการเงิน 2.การสนับสนุนสินเชื่อดอกเบี้ยต่ำ 2.4 การให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ผู้ส่งออก ได้สนับสนุนการจัดตั้งธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย (ธสน.) เพื่อให้บริการทางการเงินและให้ความช่วยเหลือทางการเงินโดยการให้ packing credit

  15. ส่วนที่ 2 นโยบายการคลัง • มาตรการทางการคลังที่สำคัญได้แก่ 1.การกระจายอำนาจการบริหารงบประมาณไปสู่ภูมิภาคและท้องถิ่น 2.การปฏิรูปการคลังท้องถิ่น 3.กำหนดเกณฑ์การแบ่งสรรรายได้ระหว่างท้องถิ่น

  16. ส่วนที่ 2 นโยบายการคลัง 4. การจัดสรรงบประมาณแผ่นดินสู่ภูมิภาคมากขึ้นโดยเน้นการกระจายความเจริญสู่ภูมิภาค ดำเนินการผ่านคณะกรรมการพัฒนาชนบทและกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาค ตามโครงการหลัก 5 โครงการ คือ 1. โครงการพัฒนาชนบทภายใต้ 7 กระทรวงหลัก 2. โครงการพัฒนาจังหวัด 3. โครงการพัฒนาตำบล 4. กองทุนพัฒนาชนบท 5. แผนงานกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาค 6. โครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.)

  17. ส่วนที่ 2 นโยบายการคลัง • เราสามารถพิจารณานโยบายทางการคลังได้อีกแง่หนึ่ง โดย ดูเป็น มาตรการด้านรายได้และรายจ่าย 1. มาตราการทางด้านรายได้ 1.1 นำเงินภาษีดังกล่าวมาจัดสรร “สินค้าสาธารณะ” ส่วนค่าใช้จ่ายในการผลิตบริการนั้น รัฐบาลจะจัดเก็บตามฐานะของผู้ที่เสียภาษี 1.2 จัดเก็บภาษีแบบทั่วไป ( general tax) 2. มาตราการทางด้านรายจ่าย 2.1การใช้จ่ายทางด้านสวัสดิการ เช่น โครงการ 30 บาท 2.2การใช้จ่ายเพื่อเพิ่มพูนความสามารถและประสิทธิภาพ เช่น การจัดระบบชลประทาน ปฏิรูปที่ดิน

  18. ส่วนที่3 ผลจากการดำเนินนโยบายการกระจายรายได้และการกระจายความเจริญสู่ชนบท ส่วนที่ 3.1สถานการณ์การกระจายรายได้และความเจริญสู่ชนบทตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ส่วนที่ 3.2 ภาพรวมของผลการดำเนินนโยบายการกระจายจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

  19. ส่วนที่ 3 สถานการณ์การกระจายรายได้และความเจริญสู่ชนบทตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน • ในส่วนของ สถานการณ์การกระจายรายได้และความเจริญสู่ชนบทตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน จะแบ่งพิจารณา เป็น 3 ประเด็น คือ 1. ความยากจนของคนไทยตามภาคและพื้นที่ 2. การกระจายรายได้ของคนในประเทศ 3. สัดส่วนของโครงสร้างการผลิตและโครงสร้างการจ้างงาน

  20. ส่วนที่ 3 สถานการณ์การกระจายรายได้และความเจริญสู่ชนบทตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 1. ความยากจนของคนไทยตามภาคและพื้นที่ • สภาวะความยากจนในประเทศไทยทางด้านรายได้จากงานวิชาการต่างๆ • สภาวะความยากจนและเส้นความยากจน 2505/06 – 2543

  21. ส่วนที่ 3 สถานการณ์การกระจายรายได้และความเจริญสู่ชนบทตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 2. การกระจายรายได้ของคนในประเทศ • รายได้ประชากรต่อหัวระดับภาคการผลิต ภูมิภาค หรือกลุ่มรายได้ต่าง ๆ • การกระจายรายได้ระหว่างปี 2505-2543 แยกตามชั้นของรายได้ • ค่าสัมประสิทธิ์จินิ (Gini Coefficient)

  22. ส่วนที่ 3 สถานการณ์การกระจายรายได้และความเจริญสู่ชนบทตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 3. สัดส่วนของโครงสร้างการผลิตและโครงสร้างการจ้างงาน

  23. ส่วนที่ 3 ภาพรวมของผลการดำเนินนโยบายการกระจายจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาฯฉบับที่1และ2 • มีการขยายบริการขั้นพื้นฐานออกไปอย่างกว้างขวางและช่วยสนับสนุนผลผลิตโดยส่วนรวมของประเทศเป็นอย่างมาก แต่ในเรื่องปัญหาการกระจายรายได้ของคนในชนบทยังไม่ได้รับการแก้ไข

More Related