1 / 53

ระเบียบวาระการประชุม ครั้งที่ ๑ / ๒๕๕๗ วันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๗

ระเบียบวาระการประชุม ครั้งที่ ๑ / ๒๕๕๗ วันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๗. ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ๑.๑ คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสถิติจังหวัดสุพรรณบุรี เมื่อวันที่ ๑๗ มกราคม พ.ศ.๒๕๕๖

ifeoma-head
Download Presentation

ระเบียบวาระการประชุม ครั้งที่ ๑ / ๒๕๕๗ วันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๗

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระเบียบวาระการประชุม ครั้งที่ ๑/๒๕๕๗ วันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๗ ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ๑.๑ คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสถิติจังหวัดสุพรรณบุรี เมื่อวันที่ ๑๗ มกราคม พ.ศ.๒๕๕๖ ๑.๒ ความร่วมมือทางวิชาการ เรื่องความเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลเพื่อการตัดสินใจในระดับพื้นที่ (เอกสารแนบ ๑ และ ๒)

  2. ระเบียบวาระที่ ๒ เรื่องรับรองรายงานการประชุม ๒.๑ รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๕๖ เมื่อวันที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ (เอกสารแนบ ๓)

  3. ระเบียบวาระที่ ๓ เรื่องเพื่อทราบ ๓.๑ แจ้งผลสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับการ คัดเลือกผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพเพื่อจัดทำ ชุดข้อมูลสถิติต้นแบบ ๓.๒ ทบทวนโครงการ ปี ๒๕๕๖ ๓.๓ ชี้แจงแนวทางการพิจารณาคัดเลือกและ พัฒนาข้อมูลที่สำคัญ ๓.๔ ภาพรวมโครงการ ปี ๒๕๕๗ (เอกสารแนบ ๔)

  4. วาระที่ ๓.๑ แนวทางการพิจารณาคัดเลือกและพัฒนาข้อมูลที่สำคัญ • วิสัยทัศน์ และยุทธศาสตร์ของจังหวัด • ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพจากแผนพัฒนาจังหวัด ๔ปี • ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพของจังหวัด (Product Champion) ตาม BCG • ห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) • แผนผังสถิติทางการ (Data Mapping) • ผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่ขาดหายไป (Data gapanalysis) • แนวทางการดำเนินงาน .

  5. “สุพรรณบุรีเป็นจังหวัดชั้นนำในด้านแหล่งผลิตอาหาร และผลิตภัณฑ์คุณภาพมาตรฐานสู่สากล เป็นศูนย์กลางการศึกษาการกีฬาและการท่องเที่ยว โดยใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ชุมชนเข้มแข็ง คุณภาพชีวิตดี ยึดการมีส่วนร่วม ” วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ . ผลิตภัณฑ์ศักยภาพของจังหวัดและประเด็นสำคัญในด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม .

  6. วาระที่ ๓.๑ การสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับการพิจารณาคัดเลือกผลิตภัณฑ์เพื่อจัดทำข้อมูลสถิติต้นแบบ วัตถุประสงค์ : เพื่อสร้างความเข้าใจถึงแนวทางการพิจารณาผลิตภัณฑ์หรือบริการที่มีศักยภาพและสามารถกำหนดรายละเอียดชุดข้อมูลได้ โดยจะเริ่มต้นจากข้อมูลเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่น่าสนใจ และสำคัญของจังหวัดเพื่อใช้เป็นต้นแบบในการจัดทำข้อมูลสถิติชุดอื่น ๆ ต่อไปตาม ประเด็นยุทธศาสตร์แผนพัฒนาจังหวัดสุพรรณบุรี ๒๕๕๗-๒๕๖๐ วิสัยทัศน์:“สุพรรณบุรีเป็นจังหวัดชั้นนำในด้านแหล่งผลิตอาหาร และผลิตภัณฑ์คุณภาพมาตรฐานสู่สากลเป็นศูนย์กลางการศึกษาการกีฬาและการท่องเที่ยว โดยใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ชุมชนเข้มแข็ง คุณภาพชีวิตดี ยึดการมีส่วนร่วม”

  7. วาระที่ ๓.๑ ผลการสำรวจความคิดเห็นจากคณะกรรมการฯ จำนวน ๑๓ หน่วยงาน เห็นด้วยกับการพิจารณาเลือกประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ “การเพิ่มขีดความสามารถด้านเกษตร"เชื่อมโยงสู่เกษตรอุตสาหกรรมและพานิชยกรรมเพื่อการบริโภคและการส่งออกมาเพื่อใช้กำหนดชุดข้อมูลสถิติ” ได้เลือกผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพของจังหวัดควรนำมาใช้เป็นต้นแบบสำหรับการจัดทำชุดข้อมูลเริ่มต้นคือ ข้าว จำนวนร้อยละ ๙๒.๓และส่วนที่เหลือ(ได้แก่ อ้อย มันสำปะหลัง ปลานิล) ร้อยละ ๗.๗ .

  8. แผนพัฒนาจังหวัดสุพรรณบุรี ประจำปีงบประมาณ พ .ศ. 2558 - 2561 ค่านิยม “ ซื่อสัตย์ โปร่งใส มีคุณธรรม เต็มใจให้บริการ ทำงานมุ่งผลสัมฤทธิ์” “สุพรรณบุรีเป็นจังหวัดชั้นนำในด้านแหล่งผลิตอาหาร และผลิตภัณฑ์คุณภาพมาตรฐานสู่สากล เป็นศูนย์กลางการศึกษาการกีฬาและการท่องเที่ยว โดยใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ชุมชนเข้มแข็ง คุณภาพชีวิตดี ยึดการมีส่วนร่วม” วิสัยทัศน์ VISION กลยุทธ์ Strategies (17) ประเด็นยุทธศาสตร์ Strategic Issues (5) (Plan58_61) เป้าประสงค์ GOALS (8) • 1. การส่งเสริมและวิจัยและพัฒนา(Research and Development : R&D) และการยกระดับปัจจัยพื้นฐาน • 2. การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุนการผลิตสินค้าอาหารปลอดภัยเพื่อการแข่งขันทางการค้าและส่งออก • 3. การแปรรูปเพื่อสร้างและเพิ่มมูลค่าให้แก่ผลิตภัณฑ์อาหารปลอดภัย • 4. การพัฒนาระบบการตลาดสินค้าอาหารปลอดภัย • 5. การพัฒนาการขนส่งสินค้า และการบริหารจัดการสินค้า (Logistics) • 6. การพัฒนาเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร 1. การเพิ่มขีดความสามารถด้านเกษตรเชื่อมโยงสู่เกษตรอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม เพื่อการบริโภคและการส่งออก • 1. เพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ สินค้าเกษตร อุตสาหกรรมและเกษตรอุตสาหกรรม เพื่อการบริโภคและการส่งออก และเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจจังหวัด 7. การพัฒนาระบบบริหารจัดการ และสนับสนุนปัจจัยพื้นฐานด้านการท่องเที่ยวและ ทรัพยากรธรรมชาติภายใต้การมีส่วนร่วม 8. การพัฒนาและปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยว ส่งเสริมกิจกรรมประเพณี วัฒนธรรม และผลิตภัณฑ์ทางการท่องเที่ยว 9. การพัฒนาศักยภาพสถานประกอบการ ผู้ประกอบการ และบุคลากรด้านการท่องเที่ยว 10. การพัฒนาด้านการสื่อสารการตลาดและการประชาสัมพันธ์ • 2. เพิ่มรายได้จากการท่องเที่ยวและการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สินค้าท้องถิ่น • 3. อนุรักษ์ ฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยว ภูมิปัญญาท้องถิ่น และทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้เอื้ออำนวยประโยชน์อย่างยั่งยืน • 2. การพัฒนาด้านการท่องเที่ยวสู่สากลคู่การอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน 11. การพัฒนาปัจจัยพื้นฐานทางด้านสังคม 12. การพัฒนาคุณภาพชีวิต : สุขภาพอนามัย การมีงานทำและมีรายได้ และชีวิตครอบครัวอบอุ่น 13. การบริหารจัดการพื้นที่ : ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน การจัดระเบียบสังคมและ การพัฒนาความร่วมมือ สร้างความเข้มแข็งชุมชน • 3. การยกระดับคุณภาพชีวิต และความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สิน • 4. ยกระดับคุณภาพชีวิตด้านเศรษฐกิจและแก้ไขปัญหาความยากจน • 5. เสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีและแก้ไขปัญหาความยากจน • 4. การส่งเสริมการศึกษา การกีฬามุ่งความเป็นเลิศในระดับสากล • 6. เพิ่มโอกาสทางการศึกษาและยกระดับคุณภาพการศึกษาให้ได้มาตรฐานการศึกษาระดับชาติ • 7. ยกระดับการกีฬาของจังหวัดสุพรรณบุรี เข้าสู่มาตรฐานสากล 14. ยกการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน พัฒนาระบบบริหารและมาตรฐานการศึกษา การกีฬา 15. การพัฒนาศักยภาพความพร้อมของบุคลากร โดยส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมเพื่อการศึกษาและกีฬา • 5. การนำการเปลี่ยนแปลงด้านการบริหารและบริการเพื่อประโยชน์ของประชาชน • 8.ยกระดับคุณภาพการบริการและบริหารด้วยความโปร่งใส 16.ยกระดับคุณภาพการบริการและบริหารด้วยความโปร่งใส 17.ส่งเสริมการทำงานร่วมกันระหว่างภาคราชการและเอกชน

  9. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : การเพิ่มขีดความสามารถด้านเกษตรเชื่อมโยงสู่เกษตรอุตสาหกรรม และพาณิชยกรรม เพื่อการบริโภคและการส่งออก (Plan58_61)

  10. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : การพัฒนาด้านการท่องเที่ยวสู่สากลคู่การอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Plan58_61)

  11. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : การยกระดับคุณภาพชีวิต และความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน (Plan58_61)

  12. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 : การส่งเสริมการศึกษา การกีฬามุ่งความเป็นเลิศในระดับสากล (Plan58_61)

  13. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 : การนำการเปลี่ยนแปลงด้านการบริหารและบริการเพื่อประโยชน์ของประชาชน (Plan58_61)

  14. ศักยภาพของจังหวัดสุพรรณบุรีศักยภาพของจังหวัดสุพรรณบุรี • จังหวัดสุพรรณบุรีมีพื้นที่ทั้งหมด 5,358 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 3.3 ล้านไร่ ห่างจากกรุงเทพมหานคร 107 กิโลเมตร มีประชากร 845,053 คน แบ่งเขตการปกครองเป็น 10 อำเภอ 110 ตำบล 1,008 หมู่บ้าน • มีลักษณะภูมิประเทศโดยส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม บริเวณด้านตะวันออกของจังหวัดตลอดแนวเหนือจรดใต้ และมีบางส่วนเป็นที่ราบสูง บริเวณด้านตะวันตกติดกับจังหวัดกาญจนบุรี • ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด(GPP) 68,922 ล้านบาทรายได้เฉลี่ยต่อคน 76,549 บาท/ปี • รายได้จากเกษตรกรรม 20,121 บาท/ปี พืชเศรษฐกิจที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว อ้อย มันสำปะหลัง ข้าวโพด • รายได้จากอุตสาหกรรม 15,804 บาท/ปี มีโรงงาน 1,130 แห่ง และมีการจ้างงาน 21,300 คน • รายได้จากภาคบริการ 18,687 บาท/ปี มีนักท่องเที่ยว 3.6แสนคน มีสถานศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา 13 แห่ง

  15. เหตุผลในการเลือกผลิตภัณฑ์ศักยภาพเหตุผลในการเลือกผลิตภัณฑ์ศักยภาพ 1. โครงสร้างทางเศรษฐกิจ โครงสร้างทางเศรษฐกิจของจังหวัดสุพรรณบุรีประจำปี 2554 ขึ้นอยู่กับภาคการเกษตรร้อยละ 33.4 ภาคนอกเกษตรร้อยละ 66.6สาขาสำคัญ 5 ลำดับ ได้แก่ 1. เกษตรกรรมฯ ร้อยละ 32.02. การผลิตอุตสาหกรรม ร้อยละ11.83. บริการด้านอสังหาริมทรัพย์ฯ ร้อยละ 10.94. การศึกษาฯ ร้อยละ 7.95. ตัวกลางทางการเงิน ร้อยละ 7.86. อื่นๆ ร้อยละ 29.6 . .

  16. .

  17. เครื่องชี้ภาวะการผลิตหมวดการเพาะปลูกฯ จังหวัดสุพรรณบุรี • พื้นที่ในจังหวัดฯ ส่วนใหญ่ยังเป็นพื้นที่ทางการเกษตรและใช้ในการปลูกข้าวมากกว่าครึ่ง รองลงมาคือการใช้พื้นที่ในการเพาะปลูกพืชไร่ ได้แก่ อ้อย มันสำปะหลัง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์และอื่น ๆ .

  18. สุพรรณบุรี: BCG เกษตร Growth สุกร (4, 31) ข้าวโพด (1, 11) ไม่มี ไข่เป็ด (8, 9) ไก่เนื้อ (7, 5) . (11.11, 3.14) Share อ้อย (1, -3) มันสำปะหลัง ข้าวนาปี (20, 1) ข้าวนาปรัง (28, -2) (5, -17) ไข่ไก่ (24, -7)

  19. วาระที่ ๓.๒ แนวทางการพิจารณาคัดเลือกและพัฒนาข้อมูลที่สำคัญ(ต่อ) • วิสัยทัศน์ และยุทธศาสตร์ของจังหวัด • ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพจากแผนพัฒนาจังหวัด ๔ปี • ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพของจังหวัด (Product Champion) ตาม BCG • ห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) • แผนผังสถิติทางการ (Data Mapping) • ผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่ขาดหายไป (Data gapanalysis) • แนวทางการดำเนินงาน .

  20. ขั้นตอนและเครื่องมือสำคัญ(Product Champion VS Cluster Positioning) การวิเคราะห์และค้นหาความสัมพันธ์ .

  21. แผนการพัฒนาระบบสถิติในระดับจังหวัดแผนการพัฒนาระบบสถิติในระดับจังหวัด มาตรฐานข้อมูล มาตรฐานการจัดจำแนกข้อมูล มาตรฐานระบบ มาตรฐานการรักษาความลับของข้อมูล BI ชุดข้อมูล ที่สำคัญสำหรับ สนับสนุน การตัดสินใจ กิจกรรมที่ต้องดำเนินการ PMOC ระดับสากล ค้นหา Product Champion ผังสถิติทางการ การเชื่อมโยง และ การบูรณาการข้อมูล GIS ระดับ ประเทศ MOC ระดับ กระทรวง สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจของผู้บริหาร • แผนพัฒนาสถิติ ระดับพื้นที่ จังหวัด ... • แผนปฏิบัติราชการจังหวัด... • - หน่วยงานสนับสนุน • - งบประมาณ • กำหนดแนวทางการดำเนินการต่อเนื่องและขยายผล การวิเคราะห์ ฐานข้อมูล POC DOC ระดับหน่วยงาน ระดับจังหวัด

  22. ผังสถิติทางการ Product Champion “ข้าว” ตัวอย่าง

  23. ตัวอย่าง การวิเคราะห์ห่วงโซ่มูลค่าของสินค้า (ข้าว)

  24. กรอบแนวคิดการพัฒนาฐานข้อมูลระดับจังหวัดเพื่อตอบสนองความต้องการใช้ในพื้นที่จะเน้นข้อมูลภารกิจเชิงพื้นที่ (Area Base)

  25. ตัวอย่างการพัฒนาเป็นชุดข้อมูลเพื่อการตัดสินใจตามตัวชี้วัดตัวอย่างการพัฒนาเป็นชุดข้อมูลเพื่อการตัดสินใจตามตัวชี้วัด

  26. การวิเคราะห์ข้อมูลที่ขาดหายไป (Data gap analysis) และแนวทางการจัดทำแผนพัฒนาสถิติจังหวัด • Data gap analysis  แผนพัฒนาสถิติจังหวัด • ข้อมูลสำคัญจำเป็นที่ต้องจัดเก็บมีอะไรบ้าง • ข้อมูลในปัจจุบันที่มีการจัดเก็บไว้แล้ว มีประเภทอะไรบ้างหน่วยงานไหนเป็นผู้จัดเก็บบ้าง ซ้ำซ้อนกันหรือไม่ มีวิธีจัดเก็บอย่างไร และคาบเวลาในการจัดเก็บเป็นอย่างไร • ข้อมูลที่ยังไม่มีการรวบรวมและจัดเก็บหน่วยงานไหนควรเป็นเจ้าภาพในการรวบรวมและ/หรือจัดเก็บข้อมูลดังกล่าว

  27. Data Gap Analysis Decision Model

  28. วาระที่ ๓.๔เรื่องเพื่อทราบ: ภาพรวมโครงการ ปี ๒๕๕๗ โครงการการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัด โดย สำนักงานสถิติแห่งชาติ ร่วมกับ สถาบันส่งเสริมการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ วัตถุประสงค์หลักของโครงการ พัฒนาสมรรถนะของบุคลากรด้านสถิติขององค์กรภาครัฐ ให้มีความเป็นมืออาชีพด้านข้อมูลสถิติและสารสนเทศ บูรณาการข้อมูลสารสนเทศระดับพื้นที่เพื่อตอบสนองยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด สนับสนุนการตัดสินใจเชิงพื้นที่ ร่างแผนพัฒนาสถิติจังหวัด เพื่อการตัดสินของประเด็นยุทธศาสตร์ของจังหวัด ได้แก่ ข้อมูลในการบริหารจัดการ ProductChampion ที่ได้รับการเลือก อาทิ ข้อมูลพื้นฐาน ปัจจัยสู่ความสำเร็จ และตัวชี้วัด (KPI) ฯลฯ ผลผลิตหลักของโครงการ

  29. วาระที่ ๓.๔เรื่องเพื่อทราบ: ภาพรวมโครงการ (ต่อ) โครงการการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัดโดย สำนักงานสถิติแห่งชาติ ร่วมกับสถาบันส่งเสริมการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดีสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ภาคเหนือตอนบน 2 น่าน พะเยา เชียงราย น่าน ภาคเหนือตอนบน 1 เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลำพูน ลำปาง ภาคอีสานตอนบน 1 อุดรธานี หนองคาย เลย หนองบัวลำภู บึงกาฬ ภาคเหนือตอนล่าง 1 พิษณุโลก ตาก สุโขทัย อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ ภาคอีสานตอนบน 2 สกลนคร นครพนม มุกดาหาร ภาคเหนือตอนล่าง 2 กำแพงเพชร พิจิตร นครสวรรค์ อุทัยธานี ภาคอีสานตอนกลาง ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ในระยะที่ผ่านมา สำนักงานสถิติ แห่งชาติได้ดำเนินการพัฒนาระบบสถิติเชิงพื้นที่ รองรับการพัฒนาประเทศอย่างต่อเนื่อง โดยให้ความสำคัญในการเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 สู่ยุทธศาสตร์เชิงพื้นที่ของกลุ่มจังหวัด จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัด ภาคกลางตอนบน 2 ลพบุรี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง ภาคอีสานตอนล่าง 2 อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ ภาคกลางตอนล่าง 1 กาญจนบุรี ราชบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม ภาคอีสานตอนล่าง 1 นครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ สุรินทร์ ภาคกลางตอนล่าง ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี สระแก้ว นครนายก สมุทรปราการ ภาคกลางตอนล่าง 2 สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ 2555 2556 2557 ภาคตะวันออก ชลบุรี ระยอง จันทยุรี ตราด นำร่อง 10 จังหวัด นำร่อง 2 กลุ่มจังหวัด พัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด / 18 กลุ่มจังหวัด ภาคกลางตอนบน 1 อยุธยา สระบุรี ปทุมธานี นนทบุรี ภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย สุราษฎร์ธานี ชุมพร นครศรีธรรมราช พัทลุง ภาคใต้ฝั่งอันดามัน พังงา ระนอง ภูเก็ต กระบี่ ตรัง ภาคใต้ชายแดน สงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา นราธิวาส

  30. โครงการการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัด โดย สำนักงานสถิติแห่งชาติ ร่วมกับสถาบันส่งเสริมการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดีสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ วาระที่ ๓.๔เรื่องเพื่อทราบ: ภาพรวมโครงการ (ต่อ) ผลประโยชน์ที่คาดว่าจังหวัดและกลุ่มจังหวัดจะได้รับ สนับสนุนการรายงานการวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ตามประเด็นยุทธศาสตร์พัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัดให้กับผู้ว่าราชการจังหวัดและสำนักงานจังหวัด ยกระดับคุณภาพข้อมูลเพื่อการตัดสินใจระดับจังหวัดให้มีมาตรฐานทางวิชาการ สร้างมาตรฐานการทำงานร่วมกันระหว่างกลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานจังหวัด และสำนักงานสถิติจังหวัด “…สำนักงานสถิติแห่งชาติ ประสานกับหน่วยงานในการสร้างเครือข่ายสถิติ เพื่อให้ได้มาซึ่งฐานข้อมูลสถิติที่สำคัญและเป็นปัจจุบันของประเทศ...”

  31. จังหวัดสุพรรณบุรี โครงการการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัด โดย สำนักงานสถิติแห่งชาติ ร่วมกับสถาบันส่งเสริมการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดีสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ วาระที่ ๑: เรื่องประธานแจ้งที่ประชุม วาระที่ ๒: เรื่องรับรองรายงานการประชุม วาระที่ ๓: เรื่องเพื่อทราบ วาระที่ ๔: เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ PC/CI, VC และ CSF ตามประเด็นยุทธศาสตร์ ๔.๒แผนการดำเนินงาน

  32. วาระที่ ๔.๑ เรื่องเพื่อพิจารณา PC/CI ตามประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์ : สุพรรณบุรีเป็นจังหวัดชั้นนำในด้านแหล่งผลิตอาหาร และผลิตภัณฑ์คุณภาพมาตรฐานสู่สากล เป็นศูนย์กลางการศึกษาการกีฬาและการท่องเที่ยว โดยใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ชุมชนเข้มแข็ง คุณภาพชีวิตดี ยึดการมีส่วนร่วม ยุทธศาสตร์ เศรษฐกิจ /สังคม/สิ่งแวดล้อม PC/CI เหตุผลสนับสนุน • พื้นที่เพาะปลูกข้าวขาว ปี 2555 อันดับ 5 ของประเทศ และผลผลิตมากเป็นอันดับ 3 ของประเทศรองจากนครสวรรค์และพิจิตร • สัดส่วนผลผลิตต่อพื้นที่เพาะปลูกข้าวขาว ปี 2555 อันดับ 3 ของประเทศ 1. การเพิ่มขีดความสามารถด้านเกษตร เชื่อมโยงสู่เกษตรอุตสาหกรรม และ พาณิชยกรรมเพื่อการบริโภคและการ ส่งออก เศรษฐกิจ-> เกษตร ข้าวปลอดภัย • จ. สุพรรณบุรี มีโครงการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนเมืองโบราณอู่ทอง • มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์สำคัญ เช่น วัดป่าเลไลย์ อนุสรณ์ดอนเจดีย์ เศรษฐกิจ -> การท่องเที่ยว การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ 2. การพัฒนาด้านการท่องเที่ยวสู่สากลคู่ การอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน • จากดัชนีชี้วัดด้านสังคมของกระทรวงพัฒนาสังคมฯ พบว่า ด้านความปลอดภัยของ จ. สุพรรณบุรีต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ และเป้าประสงค์ • เชิงยุทธศาสตร์ก็เน้นเสริมสร้างคุณภาพชีวิตและแก้ปัญหาความยากจน 3. การยกระดับคุณภาพชีวิต และความ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน สังคม -> คุณภาพชีวิต ทรัพยากรมนุษย์และ คุณภาพชีวิต สังคม -> การสร้างสังคมการเรียนรู้ เป้าประสงค์เน้นเพิ่มโอกาสทางการศึกษาและยกระดับคุณภาพการศึกษาให้ได้มาตรฐานการศึกษาระดับชาติ 4. การส่งเสริมการศึกษา การกีฬามุ่งความเป็นเลิศในระดับสากล การศึกษา 33

  33. วาระที่ ๔.๑.๑เรื่องเพื่อพิจารณา PC, VC, CSF ตามประเด็นยุทศาสตร์ที่ ๑ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ : การเพิ่มขีดความสามารถด้านเกษตรเชื่อมโยงสู่เกษตรอุตสาหกรรม และพาณิชยกรรมเพื่อการบริโภคและการส่งออก กลยุทธ์ 1. การส่งเสริมและวิจัยและพัฒนา (Research and Development : R&D) และการยกระดับปัจจัยพื้นฐาน 2. การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุนการผลิตสินค้าอาหารปลอดภัยเพื่อการแข่งขันทางการค้าและส่งออก 3. การแปรรูปเพื่อสร้างและเพิ่มมูลค่าให้แก่ผลิตภัณฑ์อาหารปลอดภัย 4. การพัฒนาระบบการตลาดสินค้าอาหารปลอดภัย 5. การพัฒนาการขนส่งสินค้า และการบริหารจัดการสินค้า (Logistics) 6. การพัฒนาเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร

  34. วาระที่ ๔.๑.๑เรื่องเพื่อพิจารณา PC, VC, CSF ตามประเด็นยุทศาสตร์ที่ ๑ (ต่อ) Value Chain: Product Champion: ข้าวปลอดภัย dกระบวนการแปรรูป dกระบวนการค้าและการตลาด dกระบวนการผลิต การวิจัยพัฒนา (R&D) - การพัฒนาปัจจัยพื้นฐานและ การพัฒนาเกษตรกร การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน การแปรรูป และสร้าง มูลค่าเพิ่ม การขนส่ง และจัดการ บริหารสินค้า (Logistics) การพัฒนาระบบ การตลาด เกษตรกร ผู้บริโภค จากฟาร์มเกษตรกรไปถึงมือผู้บริโภค (From Farmer to Market) • ก่อนเก็บเกี่ยว (Pre-cultivation) • การกระจายเมล็ดพันธ์ที่ดีให้เกษตรกร • การบริหารจัดการน้ำ • การบริหารจัดการการใช้ดิน (Zoning) • การเตรียมพื้นที่เพาะปลูก ปรับปรุงดิน • การรวมกลุ่มเกษตรกร สหกรณ์ • การสร้างองค์ความรู้และขีดความสามารถให้เกษตรกร • การวิจัยและพัฒนาพันธ์พืช • การวิจัยเทคโนโลยีและนวัตกรรม • การวิเคราะห์สินค้าและความต้องการของ • ตลาด • (Intelligence) • การจัดตั้งศูนย์ข้อมูลเชิงลึกเกษตร • ช่วงเพาะปลูก (Cultivation) • การผลิตที่ดีและเหมาะสม • (GAP) • การใส่ปุ๋ยและกำจัดศัตรูพืช • การเพิ่มผลิตภาพ • การเก็บเกี่ยวและขั้น • ตอนหลังเก็บเกี่ยว • (Harvest & Post) • การรับรองมาตรฐานและตรวจสอบความปลอดภัยสินค้า • ระบบตรวจสอบย้อนกลับ (Tracability) • มาตรฐานการผลิต เกษตรอุตสาหกรรม(GMP/HACCP) • การทำบรรจุภัณฑ์ • การทำตราสินค้า (Branding) และตรารับรองคุณภาพ (Quality Mark) • ระบบเกษตรปลอดวัสดุเหลือใช้ (Zero Waste) • การสร้างมูลค่าเพิ่ม โดยส่งเสริมการใช้เป็นพืชพลังงาน • การขนส่งและ • กระจายสินค้า • การบริหารจัดการคลังสินค้า • ระบบห้องเย็น • พัฒนาตลาดกลางสินค้า • พัฒนาระบบค้าปลีก ค้าส่ง • ส่งเสริมการทำตลาดเฉพาะ (Niche Market) และตลาดเฉพาะฤดู (Seasonal Market) • สนับสนุนสินเชื่อเพื่อการส่งออก • พัฒนาตลาดซื้อขายล่วงหน้า (Future Market) CSF ที่เลือก คือ highlight สีม่วง

  35. วาระที่ ๔.๑.๒เรื่องเพื่อพิจารณา PC, VC, CSF ตามประเด็นยุทศาสตร์ที่ ๒ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : การพัฒนาด้านการท่องเที่ยวสู่สากลคู่การอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน กลยุทธ์ 1. การพัฒนาระบบบริหารจัดการ และสนับสนุนปัจจัยพื้นฐานด้านการท่องเที่ยวและทรัพยากรธรรมชาติภายใต้การมีส่วนร่วม 2. การพัฒนาและปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยว ส่งเสริมกิจกรรมประเพณี วัฒนธรรม และผลิตภัณฑ์ทางการท่องเที่ยว 3. การพัฒนาศักยภาพสถานประกอบการ ผู้ประกอบการ และบุคลากรด้านการท่องเที่ยว 4. การพัฒนาด้านการสื่อสารการตลาดและการประชาสัมพันธ์

  36. วาระที่ ๔.๑.๒เรื่องเพื่อพิจารณา PC, VC, CSF ตามประเด็นยุทศาสตร์ที่ ๒ (ต่อ) Value Chain การบริการและการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ dผลิตภัณฑ์สินค้าและบริการ การตลาด การบริหารจัดการ 3 4 1 2 5 6 7 พัฒนาการตลาดและประชาสัมพันธ์ วาง ยุทธศาสตร์/แผนการท่องเที่ยว พัฒนาปัจจัย พื้นฐานด้าน ท่องเที่ยว/ทรัพยากร พัฒนาแหล่งและกิจกรรมท่องเที่ยว พัฒนาศักยภาพมัคคุเทศน์ และบุคลากร พัฒนาระบบบริหาร จัดการการท่องเที่ยว พัฒนาธุรกิจบริการการท่องเที่ยว • การวางแผนและกำหนดตำแหน่งเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Positioning) • การกำหนดนักท่องเที่ยวกลุ่มเป้าหมาย • การรวบรวมและจัดทำข้อมูลสารสนเทศเพื่อการท่องเที่ยว • การกำหนดขีดความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยว (Carrying Capacity) • สร้างความเชื่อมั่นด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน • การสร้างความมีส่วนร่วมของชุมชน • การรับรองมาตรฐานที่พักและโรงแรม • พัฒนาธุรกิจบริการที่เกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยว อาทิ สปา ดำน้ำ สนามกอล์ฟ ร้านอาหาร ของที่ระลึก • พัฒนามาตรฐานสินค้าของฝากและของที่ระลึก • พัฒนามาตรฐานธุรกิจนำเที่ยว • สนับสนุนธุรกิจการจัดประชุมและสัมมนา (MICE) • พัฒนาทรัพยากรทางการท่องเที่ยว • การจัดการ • คุณภาพสิ่งแวดล้อม • เพื่อการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน • พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ถนน ไฟฟ้า • การจัดการปัญหาจากการท่องเที่ยว อาทิ สิ่งปฏิกูล ขยะและมลภาวะ • การพัฒนาและปรับปรุงระบบสาธารณูปโภค • สร้างสรรค์กิจกรรมท่องเที่ยวรูปแบบใหม่ๆ ให้สอดคล้องกับความสนใจ • จัดทำมาตรฐานแหล่งท่องเที่ยว • ส่งเสริม/อนุรักษ์/ฟื้นฟู/ปรับปรุง/บูรณะ/พัฒนา • แหล่งท่องเที่ยว • ยกระดับคุณภาพสิ่งอำนวยความสะดวกในสถานที่ท่องเที่ยว • การทำการตลาดกลุ่มนักท่องเที่ยวคุณภาพ • ประชาสัมพันธ์สร้างภาพลักษณ์ • การตลาดเชิงรุก ผ่านสื่อสมัยใหม่ (Social Network) • พัฒนามาตรฐานมัคคุเทศก์ / ผู้นำเที่ยว • พัฒนาศักยภาพแรงงานวิชาชีพและบุคลากรด้านการท่องเที่ยว • ส่งเสริมการรวมกลุ่มผู้ประกอบการท่องเที่ยว CSF ที่เลือก คือ highlight สีม่วง

  37. วาระที่ ๔.๑.๓เรื่องเพื่อพิจารณา PC, VC, CSF ตามประเด็นยุทศาสตร์ที่ ๓ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : การยกระดับคุณภาพชีวิต และความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน กลยุทธ์ 1. การพัฒนาปัจจัยพื้นฐานทางด้านสังคม 2. การพัฒนาคุณภาพชีวิต : สุขภาพอนามัย การมีงานทำและมีรายได้ และชีวิตครอบครัวอบอุ่น 3. การบริหารจัดการพื้นที่ : ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน การจัดระเบียบสังคมและการพัฒนาความร่วมมือ สร้างความเข้มแข็งชุมชน

  38. วาระที่ ๔.๑.๓เรื่องเพื่อพิจารณา PC, VC, CSF ตามประเด็นยุทศาสตร์ที่ ๓ (ต่อ) VC: Critical Issue: การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และคุณภาพชีวิต 7 2 5 6 ส่งเสริมพัฒนาอาชีพ/การมีงานทำ/รายได้ การเฝ้าระวัง/ป้องกัน/แก้ปัญหา/การจัดการโรคระบาด/ติดต่อ 1 3 การพัฒนาเมืองและชุมชนให้น่าอยู่ มีระบบสาธารณูปโภค ที่ดี ยกระดับคุณภาพการศึกษา ส่งเสริมการเรียนรู้นอกห้องเรียนของเยาวชน/ชุมชน ส่งเสริมการพัฒนาสุขภาวะของประชาชนทุกระดับวัย 4 ส่งเสริมความอบอุ่นในครอบครัว CSF Highlight สีม่วง

  39. วาระที่ ๔.๑.๔เรื่องเพื่อพิจารณา PC, VC, CSF ตามประเด็นยุทศาสตร์ที่ ๔ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 :การส่งเสริมการศึกษา การกีฬามุ่งความเป็นเลิศในระดับสากล กลยุทธ์: การพัฒนาศักยภาพความพร้อมของบุคลากร โดยส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมเพื่อการศึกษาและกีฬา

  40. วาระที่ ๔.๑.๔เรื่องเพื่อพิจารณา PC, VC, CSF ตามประเด็นยุทศาสตร์ที่ ๔ (ต่อ) Value Chain: CI: การศึกษา ลดปัญหาเด็กขาดโอกาสทางการศึกษา ยกระดับคุณภาพการศึกษา ส่งเสริมการเรียนรู้นอกห้องเรียนของเยาวชน/ชุมชน การสืบสานเรียนรู้วัฒนธรรมท้องถิ่น/ชุมชน • ส่งเสริมกิจกรรมเสริมการเรียนรู้เพิ่มเติมตามหลักสูตรการศึกษา • ส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา • บริหารจัดการฐานข้อมูลวัฒนธรรมท้องถิ่น • บริหารจัดการฐานข้อมูลด้านการการศึกษาของเด็กและเยาวชนในพื้นที่ • สร้างจิตสำนึก ให้ความรู้/ความเข้าใจเรื่องวัฒนธรรมท้องถิ่นโดยเฉพาะในชุมชน • ส่งเสริมกิจกรรมสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตสำหรับเด็กและเยาวชน • เตรียมความพร้อมพื้นฐานการศึกษาก่อนวัยเรียน • กิจกรรมเพื่อช่วยเหลือ/สนับสนุนเด็กและเยาวชนที่ด้อยโอกาสทางการศึกษา • พัฒนาคุณภาพการศึกษาทุกระดับในพื้นที่ • กิจกรรมเพื่ออนุรักษ์ สืบทอดวัฒนธรรมท้องถิ่น ด้วยการมีส่วนร่วมของชุมชน • พัฒนาแหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียนในชุมชน • สร้างการมีส่วนร่วมของเด็ก เยาวชน ชุมชนในการเรียนรู้ร่วมกันอย่างสร้างสรรค์ • สร้างโอกาส/แนวทางในการเข้าสู่การศึกษาในระดับสูง/ช่องทางอาชีพสำหรับเยาวชนที่จะจบการศึกษา CSF Highlight สีม่วง

  41. มติที่ประชุม • ที่ประชุมมีความเห็นต่อ PC ข้าวปลอดภัย ตามประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ดังนี้  เห็นด้วย  ไม่เห็นด้วย ขอเปลี่ยนเป็น………………................................. • ที่ประชุมมีความเห็นต่อ PC การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ ตามประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ดังนี้  เห็นด้วย  ไม่เห็นด้วย ขอเปลี่ยนเป็น…………………………………………… • ที่ประชุมเห็นชอบกับ CI คุณภาพชีวิต ตามประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3ดังนี้  เห็นด้วย  ไม่เห็นด้วย ขอเปลี่ยนเป็น…………………………………………… • ที่ประชุมเห็นชอบกับ CI การศึกษา ตามประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4ดังนี้  เห็นด้วย  ไม่เห็นด้วย ขอเปลี่ยนเป็น…………………………………………… • ที่ประชุมเห็นชอบกับ VC และ CSF ในประเด็น PC…………. • ที่ประชุมเห็นชอบกับ VC และ CSF ในประเด็น CI…………. • มอบหมายให้ฝ่ายเลขานุการ (สถิติจังหวัด) ดำเนินการเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อสรุปของ Data Gap ที่จำเป็นในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ และกำหนดให้มีการนำมาเสนอในการประชุมคณะกรรมการสถิติในคราวต่อไป (ตามแผนการดำเนินการ)

  42. วาระที่ ๔.๒เพื่อพิจารณาแผนการดำเนินงานจังหวัดสุพรรณบุรี

  43. Back up

  44. (ร่าง) Value chain & CSF เพื่อพิจารณา กษตร การวิจัยและพัฒนา + โครงสร้างพื้นฐาน การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน การแปรรูป และสร้าง คุณค่า การพัฒนาระบบ การตลาด การขนส่งสินค้าและ จัดการบริหารสินค้า การพัฒนา เกษตรกรและสถาบัน เกษตรกร พัฒนาตลาดกลางสินค้า การขนส่งและกระจายสินค้า มาตรฐานการผลิต เกษตรอุตสาหกรรม(GMP/HACCP) การกระจายเมล็ดพันธ์ที่ดีให้เกษตรกร การวิจัยและพัฒนา พันธุ์พืช การผลิตที่ดีและเหมาะสม (GAP) การใส่ปุ๋ยและกำจัดศัตรูพืช การบริหารจัดการคลังสินค้า การบริหารจัดการน้ำ การทำบรรจุภัณฑ์ พัฒนาระบบค้าปลีก ค้าส่ง การวิจัยเทคโนโลยีและนวัตกรรม การเพิ่มผลิตภาพ การบริหารจัดการการใช้ดิน (Zoning) การวิเคราะห์สินค้าและความต้องการของตลาด (Intelligence) การทำตราสินค้า (Branding) และตรารับรองคุณภาพ (Quality Mark) ส่งเสริมการทำตลาดเฉพาะ (Niche Market) และตลาดเฉพาะฤดู (Seasonal Market) การรับรองมาตรฐานและตรวจสอบความปลอดภัยสินค้า การเตรียมพื้นที่เพาะปลูก ปรับปรุงดิน การจัดตั้งศูนย์ข้อมูลเชิงลึกเกษตร ระบบเกษตรปลอดวัสดุเหลือใช้ (Zero Waste) สนับสนุนสินเชื่อเพื่อการส่งออก การรวมกลุ่มเกษตรกร สหกรณ์ ระบบตรวจสอบย้อนกลับ (Traceability) การสร้างองค์ความรู้และขีดความสามารถให้เกษตรกร

More Related