1 / 35

กลยุทธ์การสอน

กลยุทธ์การสอน. ผศ. พงษ์ สวัสดิ์ อำนาจกิติกร. ความหมายของการสอน. กระบวนการที่ช่วยให้ผู้เรียนนำความรู้ ไปใช้แก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม. การถ่ายทอดความรู้. การจัดสถานการณ์ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้. การจัดให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้. จุดมุ่งหมาย การสอน. การแนะแนวทางแก่ผู้เรียน

Download Presentation

กลยุทธ์การสอน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กลยุทธ์การสอน ผศ.พงษ์สวัสดิ์ อำนาจกิติกร

  2. ความหมายของการสอน กระบวนการที่ช่วยให้ผู้เรียนนำความรู้ ไปใช้แก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม การถ่ายทอดความรู้ การจัดสถานการณ์ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ การจัดให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ จุดมุ่งหมาย การสอน การแนะแนวทางแก่ผู้เรียน เพื่อให้ศึกษาหาความรู้ การฝึกให้ผู้เรียนคิดแก้ปัญหา

  3. ระบบ & การสอน ประเมินผลปรับปรุง แก้ไข

  4. TQF & ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

  5. หลักการ/ทฤษฎีของวิชาที่ทำการสอน (Approach) 1 วิธีการสอน (Teaching Method ) 2 กลยุทธ์การสอน (Teaching Stratigy) 3 บทบาทของผู้สอนและผู้เรียน (Roles of Teachers and Students) การวัดผลและประเมินผล (Measurement and evaluation) สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ( Learning Facility) 4 5 6 องค์ประกอบที่สำคัญต่อผลสำเร็จของการสอน

  6. ข้อควรพิจารณาในการสอนข้อควรพิจารณาในการสอน Brain Rule. John Medina,1961

  7. ข้อควรพิจารณาในการสอนข้อควรพิจารณาในการสอน Brain Rule. John Medina,1961

  8. ข้อควรพิจารณาในการสอนข้อควรพิจารณาในการสอน Brain Rule. John Medina,1961

  9. ข้อควรพิจารณาในการสอนข้อควรพิจารณาในการสอน (Harvard Business Review, 2554: ออนไลน์)

  10. การกระตุ้นการเรียนรู้การกระตุ้นการเรียนรู้ Peer Cooperative ข้อควรพิจารณาในการสอน Peer Pleasure

  11. Remember To Repeat Successes learning cycle learning Short Term memory Successes learning cycle Long Term memory Repeat To remember

  12. วิธีสอนแบบบรรยาย (Lecture Method) • ผู้เรียนได้เรียนรู้เนื้อหาจำนวนมากพร้อมๆ กันได้ในเวลาที่จำกัด • เป็นวิธีที่ดีที่สุดเมื่อต้องการที่จะให้เนื้อหาจำนวนมาก • เนื้อหา เป็นหลักการทฤษฎี กฎเกณฑ์ ขั้นตอน ขบวนการ • เนื้อหาเป็นเรื่องราวใหม่ ๆ ยังไม่เป็นที่ แพร่หลาย • ผู้เรียนที่ประสบการณ์ พื้นฐานความรู้ไม่มากนัก • ใช้ร่วมกับเทคนิคการสอนอื่น ๆ เช่น การสาธิต และอภิปราย • ไม่สามารถสนองตอบความต้องการ และความแตกต่างระหว่างบุคคล

  13. ข้อควรคำนึงของวิธีสอนแบบบรรยายข้อควรคำนึงของวิธีสอนแบบบรรยาย • ต้องศึกษาเนื้อหาสาระที่จะบรรยายให้เข้าใจถ่องแท้ • คำนำของการบรรยาย ต้องเป็นที่สนใจของผู้เรียน • เนื้อหาต้องรวบรวม จัดลำดับ และมีการเชื่อมโยงอย่างเหมาะสม • ต้องมีทักษะในการพูด ใช้เสียงแสดงความรู้สึก การใช้อารมณ์ขัน • พยายามบรรยายสั้นๆ ในเนื้อหาสาระที่มีมีประโยชน์ต่อผู้เรียน • ก่อนยุติการบรรยาย ควรสรุปสาระสำคัญของการบรรยาย • เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม

  14. การเร้าความสนใจ & การให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม การบรรยาย • การใช้สื่อประสม ที่เหมาะสมประกอบ การบรรยาย • Formative quizzes หรือ การทดสอบย่อย • Think-Pair-Share 2-3 นาที • Lecture summaries แบบกลุ่มย่อย 5 นาทีหลังบรรยาย • การใช้เทคนิค CAT (Classroom Assessment Techniques) • One-minute paper • Focus listing : ระบุรายการแนวคิดสำคัญๆ จากคำบรรยาย • Direct paraphrasing : สรุปเนื้อความจาก lecture ด้วยสำนวนของตนเอง

  15. วิธีสอนแบบระดมพลังสมอง ( Brainstorming ) • กลุ่มผู้เรียนอภิปรายโดยทันที เพื่อหาคำตอบหรือทางเลือกสำหรับปัญหาที่กำหนดให้มากที่สุดในระยะเวลาสั้น ๆ • ไม่มีการตัดสินว่า คำตอบหรือทางเลือกใดดีหรือไม่อย่างไร • กลุ่มร่วมพิจารณา ทางเลือก ที่ดีที่สุด ซึ่งอาจมีมากกว่าหนึ่งทาง • ส่งเสริมกระบวนการแก้ปัญหาการร่วมมือกันและฝึกการยอมรับความเห็นที่แตกต่างกัน • อาจมีผู้เรียนส่วนน้อย ครอบครองการอภิปรายส่วนใหญ่ • ประเมินผลผู้เรียนแต่ละคนได้ยาก

  16. ขั้นตอนวิธีสอนแบบระดมพลังสมอง ( Brainstorming ) • กำหนดปัญหา • แบ่งกลุ่มผู้เรียน เลือกประธาน และเลขาเพื่อช่วยในการอภิปรายและ บันทึกผล • ทุกคนในกลุ่มช่วยกันคิดคำตอบหรือทางเลือกสำหรับปัญหาที่กำหนดให้มากที่สุด ภายในเวลาที่กำหนด • ปัญหาของแต่ละกลุ่มอาจเป็นปัญหาเดียวกันหรือต่างกันก็ได้ • คัดเลือกเฉพาะทางเลือกที่น่าจะเป็นไปได้ หรือเหมาะสมที่สุด • แต่ละกลุ่มนำเสนอผลงานของตน • อภิปรายและสรุปผล

  17. วิธีสอนแบบอภิปราย (Discussion Method) • ผู้เรียนแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกันเพื่อช่วยแก้ไขปัญหาอย่างใดอย่างหนึ่ง • เนื้อหาซับซ้อน นามธรรม ตีความหมายได้หลากหลาย • ส่งเสริมการทำงานร่วมกันแบบประชาธิปไตย • ฝึกทักษะในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน • ฝึกทักษะในการพูด และการแสดงความคิดสร้างสรรค์ • การอภิปรายกระทำระหว่างครูกับนักเรียน หรือนักเรียนด้วยกัน โดยมีผู้สอนเป็นผู้ประสาน ให้ความช่วยเหลือ

  18. วิธีสอนแบบอภิปราย (Discussion Method) ขั้นตอนของวิธีสอนแบบอภิปราย • กำหนดหัวข้อหรือปัญหาให้สอดคล้องกับจุดประสงค์ของบทเรียน • จัดเตรียมเอกสารประกอบการอภิปรายที่อาจต้องใช้ของแต่ละกลุ่ม • จัดเตรียมสถานที่ให้เหมาะสมกับการอภิปราย • ระบุจุดประสงค์และเงื่อนไขหลักเกณฑ์ในการอภิปรายให้ชัดเจน เช่น ระยะเวลา รูปแบบวิธีการ • ผู้สอนสรุปผลการอภิปรายเป็นช่วงที่ ผู้แทนกลุ่มนำเสนอผลการอภิปราย • ผู้สอนสรุปสาระสำคัญที่ได้ เสริมข้อคิดและแนวทางความรู้ไปใช้เกิดประโยชน์

  19. วิธีสอนแบบอภิปราย (Discussion Method) การเรียนรู้แบบร่วมมือ (Co-Operative Learning) • มุ่งให้ผู้เรียนร่วมมือกันทำงาน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน • ทุกคนต้องมีส่วนร่วมรับผิดชอบ ในการทำงาน เพื่อบรรลุเป้าหมายของการเรียนรู้ร่วมกัน • เป็นกลุ่ม (Team) ขนาดเล็ก 2-6 คน มีความสามารถแตกต่างกัน • แข่งขันเป็นทีม (Team competition) ได้รับประโยชน์จากความสำเร็จของกลุ่มร่วมกัน • ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ที่สัมพันธ์กับชีวิตจริง • ได้ฝึกฝนทักษะกระบวนการแสวงหาความรู้ ทักษะการบันทึกความรู้ ทักษะการคิด ทักษะการจัดการกับความรู้ ทักษะการแสดงออก

  20. วิธีสอนแบบอภิปราย (Discussion Method) การเรียนรู้แบบร่วมมือ (Co-Operative Learning) • มุ่งให้ผู้เรียนร่วมมือกันทำงาน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน • ทุกคนต้องมีส่วนร่วมรับผิดชอบ ในการทำงาน เพื่อบรรลุเป้าหมายของการเรียนรู้ร่วมกัน • เป็นกลุ่ม (Team) ขนาดเล็ก 2-6 คน มีความสามารถแตกต่างกัน • แข่งขันเป็นทีม (Team competition) ได้รับประโยชน์จากความสำเร็จของกลุ่มร่วมกัน • ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ที่สัมพันธ์กับชีวิตจริง • ได้ฝึกฝนทักษะกระบวนการแสวงหาความรู้ ทักษะการบันทึกความรู้ ทักษะการคิด ทักษะการจัดการกับความรู้ ทักษะการแสดงออก

  21. ตัวอย่างเทคนิคที่ใช้ในการเรียนแบบร่วมมือตัวอย่างเทคนิคที่ใช้ในการเรียนแบบร่วมมือ • เทคนิคคู่ตรวจสอบ (Pairs check) • สมาชิกกลุ่มจับคู่กันทำงาน ตามที่ได้รับคำถามหรือปัญหาจากผู้สอน • ผู้เรียนคนหนึ่งเป็นผู้ทำ และอีกคนหนึ่งทำหน้าที่เสนอแนะ • หลังจากที่ทำข้อที่ 1 เสร็จ ผู้เรียนคู่นี้จะสลับหน้าที่กัน • เมื่อทำเสร็จครบแต่ละ 2 ข้อ แต่ละคู่จะนำคำตอบมาแลกเปลี่ยนและตรวจสอบคำตอบของคู่อื่น (Kagan. 1995 : 32-33)

  22. ตัวอย่างเทคนิคที่ใช้ในการเรียนแบบร่วมมือตัวอย่างเทคนิคที่ใช้ในการเรียนแบบร่วมมือ • . เทคนิควงกลมซ้อน (Inside–outside circle) • ผู้เรียนนั่งหรือยืนเป็นวงกลมซ้อนกัน 2 วง จำนวนเท่ากัน • วงในหันหน้าออก วงนอกหันหน้าเข้า • นักเรียนที่อยู่ตรงกับจับคู่กันเพื่อสัมภาษณ์ หรืออภิปรายปัญหาร่วมกัน • หมุนเวียนเพื่อเปลี่ยนคู่ใหม่ไปเรื่อยๆ ไม่ซ้ำคู่กัน • นักเรียนวงนอกและวงในเคลื่อนไปในทิศทางตรงข้ามกัน ( Kagan. 1995 : 10 )

  23. ตัวอย่างเทคนิคที่ใช้ในการเรียนแบบร่วมมือตัวอย่างเทคนิคที่ใช้ในการเรียนแบบร่วมมือ • . . เทคนิคการอภิปรายเป็นคู่ (Pair discussion) • ผู้สอนกำหนดหัวข้อหรือคำถาม ให้ผู้เรียนทีนั่งใกล้กันร่วมกันคิดและอภิปรายเป็นคู่ (Kagan. 1995 : 35 อ้างถึงใน พิมพันธ์ เดชะคุปต์. 2541 : 45) • เทคนิคการคิดเดี่ยว คิดคู่ ร่วมกันคิด (Think - pair - share) • ผู้สอนกำหนดปัญหา ผู้เรียนแต่ละคนคิดหาคำตอบด้วยตนเอง • นำคำตอบไปอภิปรายกับเพื่อนที่เป็นคู่ • นำคำตอบของแต่ละคู่มาอภิปรายพร้อมกัน 4 คน • เมื่อมั่นใจว่าคำตอบของตนถูกต้องหรือดีทีสุด จึงนำคำตอบเล่าให้เพื่อนทั้งชั้นฟัง (Kagan. 1995 : 46-47 อ้างถึงใน พิมพันธ์ เดชะคุปต์. 2541 : 41-44)

  24. ตัวอย่างเทคนิคที่ใช้ในการเรียนแบบร่วมมือตัวอย่างเทคนิคที่ใช้ในการเรียนแบบร่วมมือ • เทคนิคเพื่อนเรียน (Partners) • ผู้เรียนในกลุ่มจับคู่เพื่อช่วยเหลือกัน • ผู้เรียนในคู่หนึ่งอาจไปขอคำแนะนำ คำอธิบายจากคู่อื่นๆ ที่คาดว่าจะมีความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวดีกว่า • เมื่อนผู้เรียนคู่นั้นเกิดความเข้าใจที่แจ่มชัดแล้ว ก็จะเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ให้นักเรียนคู่อื่นๆ ต่อไป (อรพรรณ พรสีมา. 2540 : 17) • เทคนิคการทำเป็นกลุ่ม ทำเป็นคู่ และทำคนเดียว (Team - pair - solo) • ผู้รียนทำงานร่วมกันทั้งกลุ่มจนสำเร็จ จากนั้นจะแยกทำงานเป็นคู่จนสำเร็จ • สุดท้ายผู้เรียนแต่ละคนแยกมาทำเองจนสำเร็จได้ด้วยตนเอง (Kagan. 1995 : 10 อ้างถึงใน พิมพันธ์ เดชะคุปต์. 2541 : 41-45)

  25. ตัวอย่างเทคนิคที่ใช้ในการเรียนแบบร่วมมือตัวอย่างเทคนิคที่ใช้ในการเรียนแบบร่วมมือ • เทคนิค Jigsaw • จัดกลุ่มผู้เรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละประมาณ 4-5 คน • ผู้สอนแบ่งเนื้อหาที่จะเรียนเท่ากับจำนวนสมาชิกในกลุ่มของผู้เรียน • ผู้เรียนแต่ละกลุ่มรับผิดชอบในการศึกษาหัวข้อย่อยๆของเนื้อหา • ผู้เรียนที่ศึกษาหัวข้อย่อยเดียวกันมารวมกันเป็นกลุ่มใหม่เพื่อร่วมอภิปราย ซักถามให้มีความรู้ความเข้าใจชัดเจนยิ่งขึ้น • ผู้เรียนกลุ่มใหม่แยกย้ายกลับไปกลุ่มเดิมของตน แล้วผลัดกันอธิบายความรู้ที่ได้รับให้เพื่อนในกลุ่มฟัง • ผู้เรียนในกลุ่มทำแบบทดสอบย่อยเพื่อวัดความรู้ความเข้าใจ นำคะแนนของสมาชิกกลุ่มแต่ละคนมารวมกันเป็นคะแนนของกลุ่ม

  26. ตัวอย่างเทคนิคที่ใช้ในการเรียนแบบร่วมมือตัวอย่างเทคนิคที่ใช้ในการเรียนแบบร่วมมือ • . เทคนิค Buzzing • จัดกลุ่มผู้เรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละประมาณ 6-8 คน • ผู้สอนแจกใบความรู้ ให้ผู้เรียนศึกษา • ผู้เรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันระดมความคิด ร่วมกันอภิปราย ในเวลาสั้น ๆ • ผู้เรียนสรุปความคิดที่เป็นเอกฉันท์ เพื่อนำเสนอ • เทคนิคการอภิปรายเป็นทีม (Team discussion) • ผู้สอนกำหนดหัวข้อหรือคำถาม • ผู้เรียนทุกคนในกลุ่มร่วมกันระดมความคิด และพูดอภิปรายพร้อมกัน

  27. ตัวอย่างการสอน & ทักษะ/พฤติกรรม/บทบาทผู้เรียน

  28. ตัวอย่างการสอน & ทักษะ/พฤติกรรม/บทบาทผู้เรียน

  29. ตัวอย่างการสอน & ทักษะ/พฤติกรรม/บทบาทผู้เรียน

  30. ตัวอย่างการสอน & ทักษะ/พฤติกรรม/บทบาทผู้เรียน

  31. ตัวอย่างการสอน & ทักษะ/พฤติกรรม/บทบาทผู้เรียน

  32. ตัวอย่างการสอน & ทักษะ/พฤติกรรม/บทบาทผู้เรียน

  33. แนวทางการเลือกวิธีสอนแนวทางการเลือกวิธีสอน

  34. แนวทางการเลือกวิธีสอนแนวทางการเลือกวิธีสอน

  35. Thank You ! Add your company slogan

More Related