1 / 36

ภาควิชาสัตวศาสตร์

ผลงานเด่นประจำปี 2551. ภาควิชาสัตวศาสตร์. วิสัยทัศน์ (Vision). ผลิตบัณฑิตและงานวิจัย เพื่อสังคมและชุมชน มุ่งสู่สากลด้วยความเป็นไท พัฒนาปศุสัตว์และผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัย สร้างองค์ความรู้พื้นฐานภูมิปัญญาไทย เพื่อการพึ่งพาตนเอง. หัวหน้าภาควิชาสัตวศาสตร์ ผศ . ดร . ไชยวรรณ วัฒนจันทร์.

ida
Download Presentation

ภาควิชาสัตวศาสตร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผลงานเด่นประจำปี 2551 ภาควิชาสัตวศาสตร์

  2. วิสัยทัศน์ (Vision) • ผลิตบัณฑิตและงานวิจัยเพื่อสังคมและชุมชนมุ่งสู่สากลด้วยความเป็นไทพัฒนาปศุสัตว์และผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัยสร้างองค์ความรู้พื้นฐานภูมิปัญญาไทยเพื่อการพึ่งพาตนเอง

  3. หัวหน้าภาควิชาสัตวศาสตร์หัวหน้าภาควิชาสัตวศาสตร์ ผศ.ดร.ไชยวรรณ วัฒนจันทร์ รองฯ ฝ่ายวิจัยและบัณฑิตศึกษา รศ.ดร.วันวิศาข์ งามผ่องใส รองฯ ฝ่ายวิเทศสัมพันธ์และ ประกันคุณภาพ รศ.สพ.ญ.อุษา เชษฐานนท์ เลขานุการภาควิชาฯ นางเบญจมาศ เฉลิมวงค์ หัวหน้างานฟาร์ม นายสมเกียรติ ทองรักษ์ หัวหน้าสถานีฯ นาทวี ผศ.ดร.ไชยวรรณ วัฒนจันทร์ ประธานกรรมการ หลักสูตรปริญญาโท รศ.ดร.วันวิศาข์ งามผ่องใส หมวดวิชาการ - หมวดการผลิตสัตว์ปีก - หมวดการผลิตสุกร - หมวดการผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้อง ขนาดเล็ก - หมวดการผลิตโคเนื้อโคนม - หมวดโภชนศาสตร์สัตว์ - หมวดการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ - หมวดสรีรวิทยาการสืบพันธุ์ - หมวดสุขศาสตร์สัตว์ - หมวดเทคโนโลยีชีวภาพทางสัตว์ - หมวดวิทยาศาสตร์เนื้อสัตว์ • ฟาร์มปฏิบัติการสัตวศาสตร์ • - หมวดสุกร • - หมวดสัตว์ปีก • - หมวดโค • - หมวดแพะ • หมวดอาหารสัตว์ • หมวดวิทยาศาสตร์เนื้อสัตว์

  4. จำนวนนักศึกษาปี 2551

  5. จำนวนบุคลากร

  6. งบประมาณ

  7. การแก้ไขตามข้อเสนอแนะจากการตรวจเยี่ยม ในปี 2550 ข้อเสนอแนะ • พัฒนาฟาร์มสัตว์เลี้ยง/ ห้องปฏิบัติการให้เพียงพอที่จะรองรับนักศึกษาทั้งระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษา/ งานวิจัยและบริการวิชาการของคณะ หาแหล่งฝึกปฏิบัติเพิ่มเติมที่เพียงพอ การแก้ไข • จัดซื้อพ่อ แม่พันธุ์สุกรและไก่ไข่ เพื่อรองรับการเรียนการสอน การฝึกงานวิชา 515-191 และ วิชาปัญหาพิเศษ • ซ่อมแซมฟาร์มปฏิบัติการแพะ เพื่อรองรับการเรียน การสอนและการฝึกงาน

  8. การแก้ไขตามข้อเสนอแนะจากการตรวจเยี่ยม ในปี 2550 ข้อเสนอแนะ • ประสานกับภาคเอกชน/ หน่วยงานภายนอก ภาครัฐ/ เอกชน เพื่อเพิ่มพื้นที่ฝึกปฏิบัติ การแก้ไข • ประสานงานอย่างไม่เป็นทางการกับบริษัทเอกชน (บ.เบทาโกรภาคใต้) เพื่อสร้างฟาร์มเลี้ยงสัตว์แบบอุตสาหกรรม รวมทั้งประสานงานกับ ศอบต. และบริษัทเอกชนเพื่อหาทุนทำวิจัยและจัดกิจกรรมบริการวิชาการ

  9. การแก้ไขตามข้อเสนอแนะจากการตรวจเยี่ยม ในปี 2550 ข้อเสนอแนะ • ใช้ศักยภาพบุคลากรภาควิชาที่มีอยู่ เพื่อหาทุนสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอกในการทำโครงการที่สอดคล้องกับกลยุทธของภาค เพื่อแก้ปัญหาภาคใต้ การแก้ไข • ส่งเสริมให้บุคลากรภาควิชาพัฒนาตนเองทางวิชาการและเข้าร่วมประชุมทางวิชาการ • ประสานงานกับหน่วยงานภายนอก เช่น กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกรมปศุสัตว์

  10. ตารางสรุปคะแนนและผลการประเมินรายองค์ประกอบของภาควิชาสัตวศาสตร์ตารางสรุปคะแนนและผลการประเมินรายองค์ประกอบของภาควิชาสัตวศาสตร์

  11. ผลงานเด่นด้านงานวิจัย: การจัดประชุมวิชาการ • การประชุมวิชาการสัตวศาสตร์ครั้งที่ 5 “การผลิตปศุสัตว์สู้วิกฤตโลก”

  12. ผลงานเด่นด้านงานวิจัย: ผลงานตีพิมพ์ โคพื้นเมือง • Nutrient Utilization of Thai native cattle fedwith plicatulum hay and different levelsof sago palm pith เยื่อในลำต้นสาคูสามารถนำมาใช้เป็นแหล่งพลังงานสำหรับโคพื้นเมืองที่ได้รับอาหารหยาบคุณภาพต่ำ โดยการเสริมในระดับ 0.25-0.75% ของน้ำหนักตัว

  13. ผลงานเด่นด้านงานวิจัย: ผลงานตีพิมพ์ โคพื้นเมือง • Effects of Sago Palm Pith in concentrate onintake, rumen fermentation and bloodmetabolites in southern indigenous cattle เยื่อในลำต้นสาคูสามารถนำมาใช้เป็นแหล่งพลังงานทดแทนข้าวโพดบดได้ 100% ในสูตรอาหารข้น ซึ่งทำให้สามารถลดต้นทุนค่าอาหารสัตว์ได้ เนื่องจากเป็นพืชที่หาได้ง่ายในท้องถิ่น

  14. ผลงานเด่นด้านงานวิจัย: ผลงานตีพิมพ์ โคพื้นเมือง • Sago palm pith as an energy source for Thai native cattle เยื่อในลำต้นสาคูสามารถนำมาใช้เป็นแหล่งพลังงานทดแทนข้าวโพดบดและกากเนื้อในเมล็ดปาล์มน้ำมันที่นิยมใช้เป็นแหล่งพลังงานในอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้องได้

  15. ผลงานเด่นด้านงานวิจัย: ผลงานตีพิมพ์ สุกร • Effects of para rubber seed kernel levels inthe diet and gender on productive performance of pigs PRSK สามารถใช้แทนกากถั่วเหลืองและข้าวโพดได้ในปริมาณ 20% ของสูตรอาหาร สุกรเพศผู้ที่ตอนแล้วเมื่อได้รับสูตรอาหารนี้จะมีการเพิ่มน้ำหนักต่อวัน (ADG) และกินอาหารได้มากกว่าสุกรเพศเมียในวัยเดียวกัน

  16. ผลงานเด่นด้านงานวิจัย: ผลงานตีพิมพ์ สุกร Effects of para rubber seed kernel levels indiet on physical examination of pigs สามารถใช้ PRSK 10-20% ในสูตรอาหารเลี้ยงสุกรขุน เป็นเวลา 14 สัปดาห์ โดยไม่พบอาการและพฤติกรรมผิดปกติ

  17. ผลงานเด่นด้านงานวิจัย: ผลงานตีพิมพ์ ไก่พื้นเมือง • Effect of rearing systems and age change on physical properties and microstructure of Thai indigenous chicken (Gai Dang) breast muscle • การเลี้ยงไก่แบบประณีตให้กล้ามเนื้อหน้าอกที่มีคุณภาพสูงกว่าการเลี้ยงทั่วๆ ไป • อายุไก่แดงที่เหมาะสมและคุ้มค่าการเลี้ยงอยู่ที่ 16-18 wk • อายุไก่กระทงที่เหมาะสมและคุ้มค่าการเลี้ยงอยู่ที่ 4-6 wk

  18. ผลงานเด่นด้านงานวิจัย: โครงการวิจัย • การใช้มูลแพะเป็นปุ๋ยอินทรีย์ในการผลิตพริก สิ่งแวดล้อม 1 โครงการ

  19. ผลงานเด่นด้านงานวิจัย: โครงการวิจัย • Studies on relationship between plane of nutrition and meat production and utilization of nutrients in southern Thai native and crossbred steers • ผลการเสริมโปรตีนและพลังงานต่อชนิดจำนวนประชากรจุลินทรีย์และกระบวนการหมักในกระเพาะรูเมนของโคพื้นเมืองที่ได้รับอาหารหยาบคุณภาพต่ำ สัตว์เคี้ยวเอื้อง โค 5 โครงการ

  20. ผลงานเด่นด้านงานวิจัย: โครงการวิจัย • ผลของการเสริมจุลินทรีย์กลุ่มผลิตเอนไซม์ไฟเตสต่อการใช้ประโยชน์ของฟอสฟอรัสในสัตว์เคี้ยวเอื้อง • การใช้ทางใบปาล์มน้ำมันเป็นอาหารสำเร็จรูปสำหรับเลี้ยงสัตว์เคี้ยวเอื้อง • การใช้กากเนื้อในเมล็ดปาล์มน้ำมันเป็นแหล่งพลังงานทดแทนข้าวโพดบดในอาหารโคพื้นเมืองภาคใต้ สัตว์เคี้ยวเอื้อง โค

  21. ผลงานเด่นด้านงานวิจัย: โครงการวิจัย • การใช้ Medroxyprogesterone acetate ชะลอการเป็นหนุ่มเป็นสาวในแพะ • ผลของการใช้ทางใบปาล์มหมักต่อการเจริญเติบโตและลักษณะซากของแพะลูกผสมพื้นเมือง-แองโกลนูเบียน 50 เปอร์เซ็นต์เพศผู้ • การใช้ประโยชน์ของกากเนื้อในเมล็ดปาล์มน้ำมันในสูตรอาหารแพะ แพะ 6 โครงการ

  22. ผลงานเด่นด้านงานวิจัย: โครงการวิจัย • ผลการใช้สารเสริมอาหารต่อสมรรถนะการเจริญเติบโตและการรอดชีวิตของลูกแพะก่อนหย่านม • Study on development of rumen in goats using feed additives • ผลของการใช้กากเนื้อในเมล็ดปาล์มน้ำมันต่อปริมาณการกินได้ การย่อยได้ กระบวนการหมักในกระเพาะรูเมนและสมดุลไนโตรเจนในแพะที่ได้รับอาหารหยาบคุณภาพต่ำ แพะ

  23. ผลงานเด่นด้านงานวิจัย: โครงการวิจัย • การปนเปื้อนของเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรคในกระบวนการฆ่าและตัดแต่งซากสุกรที่ถูกสุขลักษณะและไม่ถูกสุขลักษณะในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา • การสำรวจยาต้านจุลชีพตกค้างในเนื้อสุกรที่จำหน่ายในตลาดเทศบาลนครหาดใหญ่ • ผลของกวาวเครือขาวต่อการหายของแผลตอนและสมรรถนะการผลิตของสุกรรุ่น-ขุนเพศผู้ตอน สุกร 3 โครงการ

  24. ผลงานเด่นด้านงานวิจัย: โครงการวิจัย • อิทธิพลของพันธุ์ไก่พื้นเมือง (ไก่คอล่อนและไก่นกแดง) และระบบการเลี้ยงต่อสมรรถภาพการเจริญเติบโต และคุณภาพซาก ไก่ 1 โครงการ

  25. ผลงานเด่นด้านงานวิจัย: โครงการวิจัย • Survey on characteristics of locally available feed resources for fattening of cattle • การใช้ประโยชน์ของเนื้อในเมล็ดยางพาราเพื่อทดแทนกากถั่วเหลืองในอาหารแพะ อาหารสัตว์ 2 โครงการ

  26. ผลงานเด่นด้านงานบริการวิชาการผลงานเด่นด้านงานบริการวิชาการ • โครงการการเพิ่มประสิทธิภาพการเลี้ยงโคเนื้อของเกษตรกร • โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องผลผลิตสัตว์ปลอดภัย • โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาความรู้และทักษะเกี่ยวกับการผลิตนมแพะคุณภาพดี • โครงการอบรมความรู้เกี่ยวกับการประกวดแพะ • นิทรรศการงานเกษตรภาคใต้ ครั้งที่ 16 เรื่อง โครงการเทคโนโลยีการผลิตสัตว์เพื่อการพึ่งพาตนเอง • การเลี้ยงแพะครบวงจร ช่วยลดต้นทุนการผลิต

  27. ขอบคุณผู้เข้าฟังทุกท่านขอบคุณผู้เข้าฟังทุกท่าน

  28. จุดเด่นของภาควิชาสัตวศาสตร์จุดเด่นของภาควิชาสัตวศาสตร์ • ภาควิชามีบุคลากรจำนวนหนึ่งที่มีชื่อเสียงและเป็นที่ยอมรับ ทำให้ได้รับเชิญจากหน่วยงานภายนอกเพื่อเป็นกรรมการ นอกจากนี้ยังสามารถให้บริการวิชาการต่อสังคมและชุมชนได้ดี • ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ของภาควิชาฯ มีศักยภาพในการรองรับการเรียน การสอน งานวิจัยและ บริการวิชาการได้มาก • มีศิษย์เก่าซึ่งสามารถสร้าง เครือข่ายการทำงานได้ดี

  29. ทิศทางสู่ความเป็นเลิศทิศทางสู่ความเป็นเลิศ • Food safety • Value-added products • Green technology • Others related to community needs

  30. อุปสรรค และสิ่งที่ต้องการพัฒนา • 1 ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ • ให้มีพื้นที่และจำนวนสัตว์ทดลองให้เพียงพอ • มีโครงสร้างพื้นฐาน เช่น แหล่งเก็บกักน้ำ อุปกรณ์การทดลอง • สร้างขวัญกำลังใจ โดยเฉพาะการเปลี่ยนอัตราการส่งเงินรายได้ซึ่งยังไม่ได้หักต้นทุนให้คณะฯ เป็นรายได้หลังหักต้นทุน

  31. อุปสรรคและสิ่งที่ต้องการพัฒนาอุปสรรคและสิ่งที่ต้องการพัฒนา • 2 อัตรากำลังสาย ก เพื่อทดแทนบุคลากรที่เกษียณอายุ • ค่า FTES เพียงค่าเดียวไม่เหมาะสมที่จะใช้พิจารณากรอบอัตรากำลัง ควรพิจารณาจาก input นักศึกษาที่มีผลการเรียนอ่อนประกอบด้วย เพราะทำให้คณาจารย์ต้องเป็นภาระในการติดตามดูแลและให้ความช่วยเหลืออย่างมาก

  32. อุปสรรคและสิ่งที่ต้องการพัฒนาอุปสรรคและสิ่งที่ต้องการพัฒนา • 3 ครุภัณฑ์ • ครุภัณฑ์ที่มีอยู่เป็นครุภัณฑ์พื้นฐาน ทำให้ไม่สามารถทำงานวิจัยต่อยอดที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง ทำให้มีผลต่อการสอนและงานวิจัยในระดับบัณฑิตศึกษา ควรพิจารณาการนำเงินกองทุนวิจัยมาจัดสรรครุภัณฑ์ที่จำเป็นเช่นเดียวกับคณะอื่นๆ • บางสาขาวิชาไม่มีห้องปฏิบัติการเฉพาะเพื่อรองรับที่จะทำงานวิจัย ทำให้ยากที่จะทำตามเป้าหมายจำนวนผลงานวิจัยที่มหาวิทยาลัยกำหนด

  33. อุปสรรคและสิ่งที่ต้องการพัฒนาอุปสรรคและสิ่งที่ต้องการพัฒนา • 4 จำนวนนักศึกษาระดับปริญญาโทมีน้อย • ปัญหาจากฟาร์มเลี้ยงสัตว์ที่ใช้ในการทดลอง • นักศึกษาที่ผ่านการสอบเข้ามีจำนวนน้อย • ค่าลงทะเบียนสูงกว่ามหาวิทยาลัยอื่น • อาจารย์ภาควิชาฯ ยังมีคุณสมบัติไม่พร้อมเป็นอาจารย์ที่ปรึกษา • ปัญหาความไม่สงบในพื้นที่

  34. ข้อเสนอแนะในการพัฒนาหน่วยงานของคณะฯข้อเสนอแนะในการพัฒนาหน่วยงานของคณะฯ • ผู้บริหาร ผู้บังคับบัญชาในระดับรองลงมา และผู้ปฏิบัติ ควรมีการศึกษาดูการเพิ่มประสิทธิภาพในหน่วยงานอื่นที่ได้รับ best practice หรือหน่วยงานเอกชนที่มีความสำเร็จ เพื่อนำมาปรับใช้กับหน่วยงานของคณะอย่างเหมาะสม

  35. ข้อเสนอแนะในการพัฒนาหน่วยงานของคณะฯข้อเสนอแนะในการพัฒนาหน่วยงานของคณะฯ • ควรมีผู้บริหารที่รับผิดชอบงานพัฒนาบุคลากรโดยตรงและมีการจัดทำแผนพัฒนาประสิทธิภาพของหน่วยงาน และควรกำหนดให้มีการอบรมเพื่อเพิ่มทักษะ ความสามารถของตนเอง เช่น ทักษะทางคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะมีมาตรการต่างๆ ทั้งการให้รางวัลหรือสร้างแรงจูงใจอื่นๆ ให้บุคลากรมีการพัฒนาตนเองอยู่เสมอ • กำหนด TOR และ LU ข้าราชการสายอื่นๆ

More Related