1 / 18

บทที่ 4 สิ่งแวดล้อมกับอุตสาหกรรมท่องเที่ยว

บทที่ 4 สิ่งแวดล้อมกับอุตสาหกรรมท่องเที่ยว. การท่องเที่ยว หมายถึง.

hyman
Download Presentation

บทที่ 4 สิ่งแวดล้อมกับอุตสาหกรรมท่องเที่ยว

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 4 สิ่งแวดล้อมกับอุตสาหกรรมท่องเที่ยว การท่องเที่ยว หมายถึง ผลรวมของปรากฏการณ์ต่าง ๆ และความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักท่องเที่ยวกับธุรกิจ และบริการต่าง ๆ รวมทั้งรัฐบาลประเทศเจ้าภาพ และประชาชนในท้องถิ่น ซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่เกี่ยวข้องอยู่ในกิจกรรม หรือกระบวนการในการดึงดูด ด้วยการให้การต้อนรับที่อบอุ่นเปี่ยมไมตรีจิตแก่นักท่องเที่ยว หรือผู้มาเยือน

  2. ความสำคัญของการท่องเที่ยวความสำคัญของการท่องเที่ยว 1. ความสำคัญต่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2. ความสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศ - สร้างรายได้ในรูปเงินตราต่างประเทศ - การเพิ่มดุลการค้าและบริการของประเทศ - การกระจายรายได้ และการจ้างงาน

  3. 3. ความสำคัญต่อสังคม และวัฒนธรรม - การท่องเที่ยวสร้างสันติภาพให้แก่โลก - การท่องเที่ยวช่วยฟื้นฟูและอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม - การท่องเที่ยวทำให้ประชาชนเกิดความรักและความภาคภูมิใจในท้องถิ่น - การท่องเที่ยวส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพจิตที่ดี - การท่องเที่ยวช่วยให้ประชาชนรู้จักการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ - การท่องเที่ยวเสริมสร้างพื้นฐานของสังคมที่ดี

  4. องค์ประกอบของการท่องเที่ยวองค์ประกอบของการท่องเที่ยว 1. นักท่องเที่ยว ผู้ที่เดินทางท่องเที่ยวเพื่อหาประสบการณ์/พักผ่อน 2. ทรัพยากรการท่องเที่ยว 3. ธุรกิจในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ผลิตสินค้า และบริการ 4. การบริการการท่องเที่ยว 5. ตลาดการท่องเที่ยว

  5. 1. นักท่องเที่ยว เป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่สุดของการท่องเที่ยว โดยมีความแตกต่างในด้านทัศนคติ และความต้องการ จึงทำให้รูปแบบการท่องเที่ยวแตกต่างกันไปด้วย 1.1 ลักษณะพื้นฐานของนักท่องเที่ยว ขึ้นอยู่กับ - เพศ - อายุ - อาชีพ และรายได้ - ระดับการศึกษา - สถานภาพสมรส - ถิ่นพำนัก

  6. 1.2 การกระจายตัวของนักท่องเที่ยวตามแหล่งท่องเที่ยวต่าง ๆ 1.3 กิจกรรมต่าง ๆ ของนักท่องเที่ยว 1.4 ฤดูกาลท่องเที่ยว 2. ทรัพยากรการท่องเที่ยว 2.1 ทรัพยากรการท่องเที่ยวที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ 2.2 ทรัพยากรการท่องเที่ยวที่มนุษย์สร้างขึ้น 2.2.1 ทรัพยากรการท่องเที่ยวด้านประวัติศาสตร์ 2.2.2 ทรัพยากรการท่องเที่ยวด้านวัฒนธรรมและสังคม 2.2.3 ทรัพยากรการท่องเที่ยวด้านบันเทิงและความเพลิดเพลิน

  7. ความสำคัญของทรัพยากรการท่องเที่ยวความสำคัญของทรัพยากรการท่องเที่ยว 1.1 เป็นสิ่งดึงดูดใจให้มีการท่องเที่ยว 1.2 เป็นแหล่งที่มาของรายได้จากการท่องเที่ยว 1.3 เพิ่มคุณภาพชีวิต และพัฒนาความเป็นอยู่ให้ดีขึ้น 1.4 สร้างความภาคภูมิใจให้แก่ประชาชนในท้องถิ่น 1.5 สะท้อนให้เห็นคุณค่าภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ 1.6 ก่อให้เกิดการอนุรักษ์และพัฒนา

  8. 3. ธุรกิจในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว หมายถึง ธุรกิจการผลิตสินค้าและบริการเพื่อตอบสนองความต้องการของนักท่องเที่ยวโดยตรง 3.1 ธุรกิจที่พัก/โรงแรม 3.2 ธุรกิจนำเที่ยว 3.3 ธุรกิจอาหารและเครื่องดื่ม 3.4 ธุรกิจจำหน่ายสินค้าและของที่ระลึก 3.5 ธุรกิจคมนาคมขนส่ง 3.6 ธุรกิจนันทนาการ

  9. ระบบสิ่งแวดล้อมทางการท่องเที่ยวระบบสิ่งแวดล้อมทางการท่องเที่ยว ลักษณะทางกายภาพ กฏหมาย โครงสร้างพื้นฐาน สภาพสังคมและวัฒนธรรม สภาพเศรษฐกิจ/การลงทุน องค์กรและความร่วมมือภาครัฐ/เอกชน

  10. ความสำคัญของสิ่งแวดล้อมต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยวความสำคัญของสิ่งแวดล้อมต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยว 1. เป็นปัจจัยเร่งให้รัฐพัฒนาพื้นที่และสิ่งอำนวยความสะดวกที่เหมาะสมต่อการท่องเที่ยว 2. เป็นปัจจัยเร่งให้ภาคเอกชนลงทุนเพื่อรองรับการท่องเที่ยว 3. เป็นปัจจัยให้เกิดความร่วมมือร่วมใจของชุมชนท้องถิ่นในการอนุรักษ์

  11. ผลกระทบสิ่งแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมทั้งทางตรง และทางอ้อมไปจากสภาวะธรรมชาติของสิ่งแวดล้อมนั้นในช่วงเวลาหนึ่งโดยอาจเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ หรือโดยธรรมชาติทั้งในลักษณะการพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้อม และการทำลายคุณภาพสิ่งแวดล้อม ธรรมชาติของผลกระทบสิ่งแวดล้อม 1) ผลกระทบสิ่งแวดล้อมจำแนกได้เป็น 2 แนวทาง คือ ผลกระทบด้านบวก หมายถึงความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อมในลักษณะการพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้อม และผลกระทบด้านลบ หมายถึงความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อมในลักษณะการทำลายคุณภาพสิ่งแวดล้อม

  12. 2) โดยทั่วไปแล้ว ผลกระทบสิ่งแวดล้อมมักเกิดขึ้นในลักษณะผลกระทบลูกโซ่ กล่าวคือ เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงกับสิ่งแวดล้อมในรูปแบบใดแล้ว ย่อมก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อองค์ประกอบสิ่งแวดล้อมอื่นด้วยเสมอ ทั้งนี้ หากผลกระทบสิ่งแวดล้อมเกิดจากโครงการพัฒนาในพื้นที่ใดแล้ว ย่อมก่อให้เกิดผลกระทบในลักษณะผลกระทบลูกโซ่เช่นกัน แต่อาจจะไม่เกิดในลักษณะการเรียงลำดับ โดยอาจเกิดขึ้นผลกระทบสิ่งแวดล้อมขึ้นได้ในทุกทิศทางพร้อมกัน

  13. 3) ผลกระทบสิ่งแวดล้อมอาจคงสภาพอยู่ได้ทั้งในระยะสั้น และระยะยาว ขึ้นอยู่กับสาเหตุของการเกิดผลกระทบสิ่งแวดล้อมนั้นเป็นสำคัญ และการคงสภาพของผลกระทบสิ่งแวดล้อมนั้นจะเกิดการเปลี่ยนแปลงเสมอ ขึ้นอยู่กับความสามารถในการปรับตัวเองของสิ่งแวดล้อม 4) ผลกระทบสิ่งแวดล้อมสามารถวัดปริมาณ ทิศทาง และระดับความรุนแรงได้

  14. ผลกระทบด้านบวกของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมผลกระทบด้านบวกของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม 1. ทำให้เกิดการบูรณะซ่อมแซมปฏิสังขรณ์โบราณสถาน แหล่งประวัติศาสตร์ 2. ทำให้มีการก่อสร้างสวนสาธารณะ อุทยานแห่งชาติ วนอุทยาน 3. ทำให้มีการปกป้องรักษาปะการัง และแนวชายหาด 4. ทำให้เกิดการทะนุบำรุงรักษาพื้นที่ป่าไม้ 5. ทำให้เกิดการพัฒนาสาธารณูปโภคเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต 6. ทำให้เกิดการพัฒนาระบบป้องกันกำจัดมลพิษสิ่งแวดล้อม 7. ทำให้เกิดการพัฒนาเพื่อใช้ประโยชน์พื้นที่ว่างเปล่า

  15. ผลกระทบด้านลบของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมผลกระทบด้านลบของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม 1. ชายหาด/เนินทรายถูกใช้ประโยชน์มากเกินไป 2. ไฟป่าจากการตั้งแคมป์ 3. ทำลายทัศนียภาพจากการพัฒนาสิ่งสาธารณูปโภค 4. การขีดเขียนข้อความ/การทำลายสภาพทรัพยากรการท่องเที่ยว 5. การสร้าง และการกำจัดขยะ 6. สูญเสียทรัพยากรธรรมชาติ 7. ความเสียหายต่อสมดุลธรรมชาติ

  16. มีต่อวันที่ 28 มกราคม 2547

More Related