1 / 20

ปฏิทินกำกับวันผลิตวันหมดอายุ

โรงพยาบาลสุโขทัย. นวัตกรรม. ปฏิทินกำกับวันผลิตวันหมดอายุ . นุชนาฏ เหล็กตั๋ว หัวหน้างานจ่ายกลาง อติพร แดงบุบผา ICN. ที่มาของปัญหา กระบวนการติดฉลากเพื่อระบุวันผลิต-วันหมดอายุ เพื่อให้ได้มาตรฐาน ระยะคงความปราศจากเชื้อของอุปกรณ์ที่ผ่านการ Autoclave โรงพยาบาลสุโขทัยกำหนดไว้ 7 วัน

Download Presentation

ปฏิทินกำกับวันผลิตวันหมดอายุ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โรงพยาบาลสุโขทัย นวัตกรรม ปฏิทินกำกับวันผลิตวันหมดอายุ นุชนาฏ เหล็กตั๋ว หัวหน้างานจ่ายกลาง อติพร แดงบุบผา ICN

  2. ที่มาของปัญหา กระบวนการติดฉลากเพื่อระบุวันผลิต-วันหมดอายุ เพื่อให้ได้มาตรฐาน ระยะคงความปราศจากเชื้อของอุปกรณ์ที่ผ่านการAutoclave โรงพยาบาลสุโขทัยกำหนดไว้ 7 วัน การปฏิบัติยังมีความผิดพลาดเกิดขึ้นได้แม้ว่าจะมีกระบวนการตรวจสอบซ้ำ จากการสำรวจ 3 เดือน พบมีการผิดพลาด 7 ครั้ง ฉลากที่ปิดผิดพลาดมักเกิดในช่วงต่อเดือนและด้วยว่าจำนวนวันของแต่ละเดือนไม่เท่ากัน เป็นสาเหตุทำให้การคำนวณผิดพลาดได้ ในการสำรวจครั้งนี้อุปกรณ์ 615 ชิ้นที่มี Labelผิด คิดเป็นเงิน 12,300 บาท เมื่อนำกลับมา Re-sterile เพื่อให้การปฏิบัติถูกต้อง ลดค่าใช้จ่าย และภาระงาน จึงคิดค้นนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ ปฏิทินกำกับวันผลิต-วันหมดอายุของอุปกรณ์ที่ทำให้ปราศจากเชื้อด้วย Autoclave

  3. การปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ เดิมใช้การเปิดดูปฏิทินและนับนิ้วมือ คำนวณวันหมดอายุ

  4. วัตถุประสงค์ของการพัฒนา “นวัตกรรม” เพื่อไม่ให้เกิดความผิดพลาดในการปฏิบัติงาน การระบุวันผลิต-วันหมดอายุของอุปกรณ์ที่ผ่าน Autoclave เพื่อลดค่าใช้จ่ายและลดภาระงานที่ต้องนำอุปกรณ์ที่ผิดพลาดจากการติดฉลากกำกับวันผลิต-วันหมดอายุ มาจัดทำให้ปราศจากเชื้อใหม่

  5. กระบวนการพัฒนานวัตกรรมกระบวนการพัฒนานวัตกรรม 1.คำนวณวันผลิต-วันหมดอายุของอุปกรณ์อายุการใช้งาน 7 วัน ในแต่ละเดือน ครบ 12 เดือน 2.นำมาจัดทำปฏิทิน ตั้งชื่อว่า ปฏิทินกำกับการ ( ขั้นที่1)

  6. การจัดทำปฏิทินกำกับการ นำปฏิทินตั้งโต๊ะที่ไม่ได้ใช้แล้วมา เป็น แกนกลาง เพื่อนำกระดาษที่ได้จัดพิมพ์ วันที่ผลิต วันที่หมดอายุ มาประกอบไว้เป็นปฏิทินคำนวณ วันผลิต-วันหมดอายุ หลังจากนำมาใช้ 2 เดือน พบว่า ใช้ง่าย สะดวก แล มีความถูกต้องในการปฏิบัติ แต่ต้องผลิตปฏิทินนี้ ทุกๆเดือน ดังนั้น จึงคิดประดิษฐ์ ปฏิทินกำกับการวันผลิต-วันหมดอายุ (ขั้นที่2) ที่สามารถใช้ได้ตลอดไป

  7. การจัดทำปฏิทินกำกับการ วันผลิต-วันหมดอายุ นำปฏิทินตั้งโต๊ะที่ไม่ได้ใช้แล้วมา เป็น แกนกลาง เหมือนเดิม เปลี่ยนแปลงในส่วนของข้อความ ในกระดาษที่ได้จัดพิมพ์ โดยส่วนของ ปี พ.ศ. ที่แยกออกมาจาก วันที่ และเดือน

  8. การทดลองใช้นวัตกรรมก่อนนำไปใช้จริงการทดลองใช้นวัตกรรมก่อนนำไปใช้จริง หลังจากนำมาใช้ ปฏิทินผู้กำกับการวันผลิต-วันหมดอายุ พบว่า ใช้ง่าย สะดวก และ มีความถูกต้องในการปฏิบัติจากการติดตามผลไม่พบว่ามีความผิดพลาดของการระบุวันหมดอายุของอุปกรณ์ที่ผ่านการAutoclave ผลของการใช้นวัตกรรม ความพึงพอใจต่อการใช้ปฏิทินผู้กำกับการวันผลิต-วันหมดอายุ ของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานหน่วยจ่ายกลาง พบว่า มีความพึงพอใจต่อการใช้ ร้อยละ 100

  9. ความคุ้มค่าคุ้มทุนของนวัตกรรมความคุ้มค่าคุ้มทุนของนวัตกรรม หลังการใช้ปฏิทินผู้กำกับการวันผลิต-วันหมดอายุ ได้มีการติดตาม สำรวจอุปกรณ์ปราศจากเชื้อ 772 ชิ้น 22 ประเภท ใน 17 หน่วยงาน ไม่พบว่ามีการระบุวันผลิต-วันหมดอายุ ผิดพลาด จึงไม่สูญเสียค่าใช้จ่ายและไม่เพิ่มภาระงาน

  10. นวัตกรรมมีความปลอดภัยในการนำไปใช้นวัตกรรมมีความปลอดภัยในการนำไปใช้ การระบุวันผลิต-วันหมดอายุ ที่ถูกต้องในอุปกรณ์ที่ปราศจากเชื้อ ถือเป็นบริการที่ปลอดภัย Safety Careช่วยป้องกันการติดเชื้อจากการบริการดูแลรักษา

  11. การใช้ปฏิทินกำกับการวันผลิต-วันหมดอายุ และเจ้าหน้าที่ Set วัน เดือน ปี ในเครื่องปั๊มฉลาก เมื่อ Label ฉลากลงที่ set เครื่องมือ มีการตรวจสอบซ้ำ

  12. การตรวจสอบการคำนวณที่สำคัญของปฏิทินกำกับการคำนวณวันผลิต-วันหมดอายุ 7 วันที่ถูกต้อง จุดสำคัญที่ 1ตัวอย่าง วันผลิต 1 มกราคม 2554 นำ 7 มาบวกวันที่ผลิต จะได้ เป็นวันหมดอายุ ได้แก่ วันที่ เดือน ปี วันผลิต 01 01 54 วันหมดอายุ 08 01 54 ทุกวันที่ 1 ของทุกเดือน วันหมดอายุ ต้องเป็นวันที่ 8 เสมอ กรณีนำ 7 มาบวกวันที่ผลิตค่าตัวเลขที่คำนวณได้เกินวันสิ้นเดือนของเดือนนั้นๆ ให้นำค่าที่คำนวณได้เป็นตัวตั้งแล้วนำวันที่สิ้นเดือนของเดือนนั้นมาลบออกจะได้ค่าที่ถูกต้องของวันหมดอายุ เช่น วันผลิตที่ 22 ก.พ.นำ 7 มาบวก จะได้ 29 นำวันที่สิ้นเดือนมาลบคือ 28 วันหมดอายุที่ถูกต้องคือ วันที่ 1 มีนาคม

  13. จุดสำคัญที่ 2 เดือนที่มี จำนวนวัน 28 ,29,30,31 วิธีคำนวณนำ เลข 7 มาลบวันที่ของสิ้นเดือน + ด้วย 1 จะได้ค่าวันผลิตที่มีวันหมดอายุเปลี่ยนวันที่-เดือนใหม่เสมอ เดือนที่มี จำนวนวัน 28 ตัวอย่างวันที่ 22 ก.พ. 54 ผลลัพธ์คือ 28-7+1=22 วันที่ เดือน ปี วันผลิต 22 02 54 วันหมดอายุ 01 03 54 ดังนั้น เดือนที่มี จำนวนวัน 28 วันทุกวันผลิตที่ 22 ของเดือนวันหมดอายุต้องเปลี่ยนวันที่-เดือนใหม่เสมอ

  14. เดือนที่มี จำนวนวัน 29 ตัวอย่างวันที่ 23 ก.พ. 54 ผลลัพธ์คือ 29-7+1=23 วันที่ เดือน ปี วันผลิต 23 02 54 วันหมดอายุ 01 03 54 ดังนั้น เดือนที่มี จำนวนวัน 29 วันทุกวันผลิตที่ 23 ของเดือนวันหมดอายุต้องเปลี่ยนวันที่-เดือนใหม่เสมอ

  15. เดือนที่มี จำนวนวัน 30 ตัวอย่างวันที่ 24 เม.ย. 54 ผลลัพธ์คือ 30-7+1=24 วันที่ เดือน ปี วันผลิต 24 04 54 วันหมดอายุ 01 05 54 ดังนั้น เดือนที่มี จำนวนวัน 30 วัน ทุกวันผลิตที่ 24 ของเดือนวันหมดอายุต้องเปลี่ยนวันที่-เดือนใหม่เสมอ

  16. เดือนที่มี จำนวนวัน 31 ตัวอย่างวันที่ 25 ม.ค. 54 ผลลัพธ์คือ 31-7+1=25 วันที่ เดือน ปี วันผลิต 25 01 54 วันหมดอายุ 01 02 54 ดังนั้นเดือนที่มี จำนวน 31 วัน ทุกวันผลิตที่ 25 ของเดือนวันหมดอายุต้องเปลี่ยนวันที่-เดือนใหม่เสมอ

  17. การตรวจสอบการคำนวณจุดสำคัญที่ 5 ทุกวันที่สิ้นเดือน วันหมดอายุจะต้องตรงกับวันที่ 7 เสมอ จุดเด่นของนวัตกรรม :สามารถใช้ได้ตลอดชีพเปลี่ยน LOCK ปีพุทธศักราชทุกวันที่ 25 ของเดือนธันวาคม และวันที่ 1 ของเดือน มกราคมเท่านั้น Warning ในปฏิทินกำกับการคำนวณวันผลิต-วันหมดอายุ

  18. THANKYOU FOR YOUR ATTENTION

More Related