1 / 29

Design A Performance Task for the Classroom การออกแบบภาระงานในชั้นเรียน

Design A Performance Task for the Classroom การออกแบบภาระงานในชั้นเรียน. มองหาแนวคิดสำคัญๆจากมาตรฐานการเรียนรู้. แนวคิดสำคัญๆจะเป็น ความคิดรวบยอดที่เป็นหัวใจจริงๆ ซึ่งสามารถมองหาได้จาก คำนามที่สำคัญ ในข้อความของมาตรฐานการเรียนรู้นั้นๆ.

hoshi
Download Presentation

Design A Performance Task for the Classroom การออกแบบภาระงานในชั้นเรียน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Design A PerformanceTask for the Classroom การออกแบบภาระงานในชั้นเรียน

  2. มองหาแนวคิดสำคัญๆจากมาตรฐานการเรียนรู้ • แนวคิดสำคัญๆจะเป็นความคิดรวบยอดที่เป็นหัวใจจริงๆ ซึ่งสามารถมองหาได้จากคำนามที่สำคัญในข้อความของมาตรฐานการเรียนรู้นั้นๆ มาตรฐาน ท ๔.๒: สามารถใช้ภาษาแสวงหาความรู้ เสริมสร้างลักษณะนิสัย บุคลิกภาพ และความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรม อาชีพ สังคม และชีวิตประจำวันมาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น ท ๔.๒.๑(ช่วงชั้นที่ 4): สามารถใช้ทักษะทางภาษาในการพัฒนาการเรียน การทำงาน และการประกอบอาชีพ และใช้เทคโนโลยีการสื่อสารพัฒนาความรู้ อาชีพ และการดำเนินชีวิต

  3. ชุดคำถามที่สำคัญมีลักษณะอย่างไร • ควรเป็นคำถามที่กว้างๆ คำถามปลายเปิด และสัมพันธ์กับหัวข้อ • ใช้คำถามว่า “ อย่างไร” และ “ทำไม” • ให้คำนึงถึงระดับที่หลากหลายในระบบพัฒนาการของ Bloom • ใช้ภาษาให้เหมาะสมกับนักเรียน • มีลำดับขั้นตอน เพื่อที่จะให้นำสิ่งหนึ่งไปสู่อีกสิ่งหนึ่งอย่างเป็นธรรมชาติ • สามารถใช้ได้กับครูผู้สอน เพื่อสร้างคำตอบทางด้านเนื้อหาจากคำถามในหน่วยการเรียนรู้นี้ • สามารถแลกเปลี่ยนกับครูผู้สอนคนอื่นๆ

  4. จากความเข้าใจสู่ชุดคำถามจากความเข้าใจสู่ชุดคำถาม • มาตรฐาน:นักเรียนรู้ว่าคุณลักษณะต่างๆทางชีววิทยาถูกถ่ายทอดทางบรรพบุรุษอย่างต่อเนื่อง • เข้าใจว่า ยีน(gens)เป็นหน่วย พื้นฐานทางพันธุกรรม มีกระบวนการสืบทอดคุณลักษณะต่างๆหรือลักษณะของพ่อแม่สู่บุตรของตนทางยีน • ลักษณะเฉพาะต่างๆของสิ่งมีชีวิตสืบทอดส่งต่อ แต่ละรุ่นได้อย่างไร ?

  5. ภาระงาน/ชิ้นงานและการประเมินผลภาระงาน/ชิ้นงานและการประเมินผล • เกิดขึ้นได้ตลอดเวลา ไม่จำกัดเวลา • ผลที่เกิดขึ้นเป็นตัวเป็นตนจับต้องได้ หรือสามารถสังเกต การกระทำที่แสดงออกมาได้ • สนับสนุนการประเมินตนเองและพิจารณาปรับปรุงแก้ไขใหม่ได้ • ตัดสินตามข้อกำหนด เป็นคะแนน • แสดงออกถึงระดับความชำนาญตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้เป็นหลักฐานและได้มีการเผยแพร่เกณฑ์การแสดงความสามารถนี้ไว้ก่อนแล้ว • บางครั้งก็ก่อให้เกิดการทำงานร่วมกันของนักเรียน

  6. ขั้นตอนการกำหนดภาระงานขั้นตอนการกำหนดภาระงาน • กำหนดเป้าหมาย • สร้างสถานการณ์ • เขียนคำชี้แจง • ตัดสินใจเลือกผู้ติ /ชมหรือผู้ประเมิน • กำหนดแนวทางการให้คะแนน • ทบทวนและปรับปรุงภาระงาน

  7. 1. การกำหนดเป้าหมาย 1.ความคาดหวังตามมาตรฐานการเรียนรู้ • นักเรียนควรเรียนรู้อะไรและปฏิบัติอะไรไร • ควรเริ่มจากความคาดหวังจากมาตรฐานเพียง 1 มาตรฐานก่อน • ได้ร่างภาระงานแล้ว ทบทวน เพิ่มความคาดหวัง มาตรฐาน • เรียงลำดับความคาดหวังและมาตรฐาน ควรใช้ 3 – 6 มาตรฐาน

  8. 1.การกำหนดเป้าหมาย(ต่อ)1.การกำหนดเป้าหมาย(ต่อ) 2. กำหนดหลักฐาน/ร่องรอยของการเรียนรู้ - หลักฐาน/ร่องรอยเป็นบรรทัดฐานเพื่อประเมินผลสำเร็จของนักเรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้ - หลักฐาน/ร่องรอยเป็นฐานของการประเมินผลซึ่งจะได้มีการพัฒนาในโอกาสต่อไป - หลักฐาน/ร่องรอยก่อให้เกิดทิศทางการปรับปรุงพัฒนาภาระงาน

  9. 2.การสร้างสถานการณ์เงื่อนไขเกี่ยวกับภาระงาน2.การสร้างสถานการณ์เงื่อนไขเกี่ยวกับภาระงาน สถานการณ์ในภาระงานมีอยู่ 3 ส่วน- บริบทของสถานการณ์เงื่อนไข(ทำไมต้องทำ) - คำแนะนำชี้แนวทางให้กับนักเรียน(ทำอย่างไร) - ผู้ติ/ชมหรือผู้ประเมิน(ใครประเมิน)

  10. 3.เขียนคำชี้แจง คำชี้แจงต้อง - เขียนด้วยถ้อยคำที่ง่าย ชัดเจน ว่าต้องการให้นักเรียนทำอะไร - ผลผลิตสุดท้าย(product)/ผลการปฏิบัติงาน(performance)ที่ต้องการต้องมีลักษณะเป็นอย่างไร

  11. 4.ตัดสินใจเลือกผู้ ติ/ชม(ประเมิน) ผู้ประเมินที่ดีที่สุด คือ ผุ้ที่มีความสนใจอย่างแท้จริงในผลงาน/ผลการปฏิบัติงานของนักเรียน นักเรียนในห้องเรียน ครูผู้สอน ผู้ประเมินภายนอก

  12. 5.กำหนดแนวทางการให้คะแนน5.กำหนดแนวทางการให้คะแนน 1.แนวทางการให้คะแนนควรควรอยู่บนหลักฐานการเรียนรู้ 2.จุดเริ่มต้นของการสร้างแนวทางการให้คะแนนจากรายละเอียดคุณภาพผลงานของนักเรียน 3.รายละเอียดของคุณภาพการปฏิบัติ/ผลงานควรจำเพาะเจาะจงในภาระงานนั้นๆ 4.ควรมีตัวอย่างผลงานที่มีคุณภาพหลากหลายให้นักเรียนดูเป็นตัวอย่าง 5.ตัดสินใจว่าจะให้ระดับคุณภาพกี่ระดับ

  13. 6.การปรับปรุงภาระงาน 1.การออกแบบภาระงานเป็นกระบวนการย้อนกลับ ซึ่งต้องการการทบทวน ปรับปรุง แก้ไขได้ใหม่อีก 2.ถ้ามีการเพิ่มเติมความคาดหวัง/มาตรฐานการเรียนรู้ ต้องมีการปรับหลักฐานการเรียนรู้ สถานการณ์เงื่อนไข คำชี้แนะ แนวทางการให้คะแนนขึ้นใหม่ตามมาด้วย 3.ในแต่ละความคาดหวังและมาตรฐานการเรียนรู้ซึ่งเป็นเป้าหมายที่กำหนดขึ้นนั้นต้องพิจารณาแนวทางการให้คะแนนประกอบด้วย

  14. GRASPSจำและจับไว้ให้แน่นๆGRASPSจำและจับไว้ให้แน่นๆ • G: Real –world Goal(เป้าหมาย) • R: Real – world Role(หน้าที่/บทบาท) • A: Real – world Audience (ผู้ดู,ผู้ฟัง) • S: Real – world Situation(สถานการณ์/เงื่อนไข) • P: Real – world Products or Performances • S: Standards

  15. โครงงานรวบยอด/ภาระงานที่จะประเมินความสามารถประกอบด้วยโครงงานรวบยอด/ภาระงานที่จะประเมินความสามารถประกอบด้วย 1. มีคำแนะนำชี้แนะสำหรับนักเรียน 2. มีมิติ(ด้านต่างๆ)ของภาระงาน/โครงงาน/ชิ้นงาน (องค์ความรู้, ความเข้าใจ) 3. ทักษะต่างๆ(ที่จะถูกประเมินผล) 4. มีระบบการให้คะแนน (scoring systems) • Rubric –ใช้สำหรับตัดสินระดับความสามารถ • Checklist –ใช้สำหรับตัดสินการมีหรือไม่มีทักษะ,หรือ พฤติกรรมที่ต้องการเห็นหรือพิสูจน์

  16. ตัวอย่าง GRASPS โครงงานรวบยอด • เธอเป็นสมาชิกคนหนึ่งของทีมนักวิทยาศาสตร์ที่ลงไปสืบสวนการที่ป่าไม้บางส่วนหดหายไปจากป่าฝนในอเมซอน(AMAZON) เธอมีหน้าที่รับผิดชอบในการเก็บรวบรวมข้อมูลทางวิทยาศาสตร์(ซึ่งรวมถึงร่องรอยหลักฐานที่เป็นภาพ เช่นภาพถ่ายต่างๆ) และผลงานที่เป็นรายงานทางวิทยาศาสตร์ซึ่งต้องเป็นการสรุปเงื่อนไขในปัจจุบัน,แนวโน้มที่เป็นไปได้ในอนาคต ผลงานนี้มีส่วนเกี่ยวข้องกับอเมซอนในตัวมันเองแล้ว มันยังมีอิทธิพลขยายในวงกว้างไปยังพื้นโลกของเราอีกด้วย รายงานของเธอจะถูกนำเสนอต่อคณะอนุกรรมการสหประชาชาติ รายงานของเธอควรให้รายละเอียดและข้อมูลสนับสนุนอย่างเต็มที่ โดยมีข้อแนะนำสนับสนุนแผนปฏิบัติการที่มีความชัดเจนและสมบูรณ์ครบถ้วน

  17. ตัวอย่าง GRASPS • G:the goal(ภายในสถานการณ์) คือ ความเข้าใจในเงื่อนไขการสูญเสียป่าไม้ในปัจจุบันและแนวโน้มความเป็นไปได้ในอนาคต • R:Role : นักเรียนเป็นสมาชิกคนหนึ่งในทีมสืบสวนทางวิทยาศาสตร์ • A: Audience : กลุ่มเป้าหมายของผู้ฟังหรือผู้ดูคืออนุกรรมการสหประชาชาติ • S:Situation:ภาพเหตุการณ์ การแจ้งให้คณะอนุกรรมการสหประชาชาติทราบเกี่ยวกับผลของการสูญเสียป่าไม้ในเขตป่าฝน อเมซอนและทำให้คณะอนุกรรมการมั่นใจปฏิบัติตามคำแนะนำในแผนปฏิบัติการ • P: Product:ผลงานต้องชัดเจนและแผนปฏิบัติการต้องสมบูรณ์ • S:Standards: มาตรฐานซึ่งโดยมีโครงงานจะถูกตัดสินจากรายละเอียดต่างๆและคำแนะนำชี้แนะภายใต้การมีข้อมูลหลักฐานอย่างเต็มที่ในแผนปฏิบัติการที่ต้องชัดเจน(clear) และมีความสมบูรณ์ครบถ้วน(complete)

  18. General Categories of Instructional Strategiesประเภทของยุทธวิธีการสอน 1. การสอนแบบตรง (Direct Instruction): วิธีการสอนที่ครูมีบทบาทสำคัญ - เปรียบเทียบและเทียบความแตกต่าง (Compare & Contrast) -การบอกบท การตั้งคำถามและจัดระบบล่วงหน้า (Cues, Questions, Advance Organizer) -ให้แสดง,สาธิต ( Demonstrations ) - คำถามเกี่ยวกับการสอน (Didactic Question) - ฝึกฝน (Drill , Practice) - สอนที่ชัดเจน (ExplicitTeaching) - จัดระบบที่ชัดเจน (Graphic Organizers)

  19. 1. การสอนแบบตรง (Direct Instruction) (ต่อ) - แนะนำให้อ่าน,ฟัง,ทัศนะ (Guides for Reading, Listening, viewing) - จำแนกความเหมือนและความต่าง (Identifying similarities and Differences) - เขียนบรรยายอย่างรอบรู้ (Mastery Lecture) - การสนับสนุนความพยายามและให้จำได้ (Reinforcingeffort & Providing Recognition) - กำหนดเป้าหมายและให้ผลย้อนกลับ (Setting Objective & Providing Feedback) - สรุปและบันทึกสิ่งที่สนใจ (Summarizing & Note Taking) - ทัศนะที่ครูกำหนดไว้แล้ว (Structured Overview)

  20. 2. การเรียนรู้จาก การทดลอง(Experiential Learning): วิธีการสอนที่ผู้เรียนได้ทำหรือมีประสบการณ์ตามจริง หรือจากสถานการณ์จำลอง • จัดการทดลอง (Conduction Experiments) • สังเกตการภาคสนาม (Field Observation) • การเรียนนอกสถานที่ (Field Trips) • การสร้างแบบจำลอง (Model Building) • เล่นตามกฎ/บทบาทสมมติ (Role Playing)

  21. 2. การเรียนรู้จากการทดลอง (ต่อ): - หุ่นจำลอง,ตัวอย่าง (Modeling) - สถานการณ์จำลอง (Simulations) - การสำรวจ (Surveys) - การแสดงออกโดยไม่ใช่ภาษา (Nonlinguistic Representations) - เกม (Games) - Synectics

  22. 3. การเรียนรู้ด้วยตัวของผู้เรียนเอง (Independent Learning): ผู้เรียนทำงานอย่างอิสระ บางครั้งให้กำหนด เวลาเอง เลือกภาระงานหรือหัวข้อเอง • คำถามที่กำหนดให้ ( Assigned Question) • คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction) • บทเรียนที่สอดคล้องกัน (CorrespondenceLessons) • เรียงความ (Essays) • การจัดระบบที่ชัดเจน (Graphic Organizers) • - การบ้านและแบบฝึกหัด (Homeworks and practice)

  23. 3. การเรียนรู้ด้วยตัวของผู้เรียนเอง (Independent Learning)(ต่อ): • -ศูนย์การเรียน (Learning Centers) • - รายงาน (Report) • - โครงการวิจัย (Research Project) • - สรุปและบันทึกสิ่งที่สนใจ (Summarizing and Note Taking) • ชุดกิจกรรมการเรียน (Learning Activity Package)

  24. 4. การเรียนรู้ทางอ้อม:ยุทธวิธีการสอนที่ผู้สอนจัดสถานการณ์การเรียนและชิ้นงาน แต่ผู้เรียนตัดสินใจเลือกทิศทางหรือทางออกเอง • กรณีศึกษา (Case studies) • การบรรลุความคิดรวบยอด (Concept Attainment) • การสร้างความคิดรวบยอด (Concept Formation) • แผนผังความคิดรวบยอด(Concept Mapping) • การขยายและการทดสอบสมมุติฐาน (Generating & Testing Hypotheses)

  25. 4. การเรียนรู้ทางอ้อม: (ต่อ) • - การจัดระบบที่ชัดเจน (Graphic Organizers) • - การแก้ปัญหา (Problem Solving) • - การอ่านเพื่อหาความหมาย (Reading for Meaning) • - การสอนแบบแลกเปลี่ยนกัน (Reciprocal Teaching) • - การอภิปรายที่สะท้อนความคิดเห็น (Reflective Discussion) • วิธีการของ Cloze(Cloze Procedures)

  26. 5. การสอนแบบปฏิสัมพันธ์ :การสอนเกี่ยวข้องกับการทำงานระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน และ/หรือผู้สอน เพื่อมุ่งไปสู่เป้าหมายการเรียนรู้ • การระดมสมอง (Brainstorming) • วัฏจักรความรู้ (Circle of Knowledge) • การเรียนแบบร่วมมือ ( Cooperative Learning) • การโต้วาที/ถกเถียง (Debates) • การสัมภาษณ์ (Interviewing) • กลุ่มปฏิบัติการ (Laboratory Groups)

  27. 5. การสอนแบบปฏิสัมพันธ์: (ต่อ) • การอภิปรายกลุ่ม (Panels) • การปฏิบัติที่เท่าเทียมกัน (Peer Practice) • การแก้ปัญหา (Problem Solving) • บทบาทสมมุติ (Role Playing) • การสัมมนาแบบโสกราติค (Socratic Seminars) • กลุ่มสอนพิเศษแบบตัวต่อตัว (Tutorial Groups)

  28. ติดต่อพวกเราได้ที่ E-Mail Address:Obec_assessment@hotmail.com http://academic.obec.go.th/assessment2549/index.htm อ.ไตรรงค์ เจนการ:pootrairong@yahoo.com(02-2885771)

  29. สวัสดี

More Related