1 / 51

บทที่ 4 การสื่อสารข้อมูลเบื้องต้น

คำนิยาม การประยุกต์การสื่อสารกับการประมวลข้อมูล การส่งผ่านข้อมูล ตัวกลาง หรือ สายส่ง. เครื่องอำนวยความสะดวกเกี่ยวกับการสื่อสาร การผสมสัญญานข้อมูล เข้ากับสัญญาณพาห์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ การประมวลผลผ่านเครือข่าย. บทที่ 4 การสื่อสารข้อมูลเบื้องต้น. คำนิยาม.

hop
Download Presentation

บทที่ 4 การสื่อสารข้อมูลเบื้องต้น

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. คำนิยาม การประยุกต์การสื่อสารกับการประมวลข้อมูล การส่งผ่านข้อมูล ตัวกลาง หรือ สายส่ง เครื่องอำนวยความสะดวกเกี่ยวกับการสื่อสาร การผสมสัญญานข้อมูล เข้ากับสัญญาณพาห์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ การประมวลผลผ่านเครือข่าย บทที่ 4การสื่อสารข้อมูลเบื้องต้น

  2. คำนิยาม • การสื่อสารข้อมูล : เทคโนโลยีที่ทำการส่งสัญญานข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง โดยมีองค์ประกอบพื้นฐาน 4 อย่าง คือ - แหล่งกำเนิดหรือผู้ส่ง : แหล่งสร้างหรือให้ข้อมูลข่าวสาร และ เป็นผู้ส่ง ข่าวสารนั้น - ตัวกลาง : สื่อนำสัญญานข้อมูลจากผู้ส่ง ส่งไปให้ผู้รับ • ผู้รับหรือเครื่องรับ : จุดหมายปลายทางของข้อมูลที่จะส่งไปถึง • โปรแกรมการสื่อสาร

  3. คำนิยาม (ต่อ) • ข่าวสาร (Information) หรือข้อมูลที่ส่งผ่านในระบบจะอยู่ในรูปของสัญญาณ - สัญญาณนอนาลอก (Analog Signal) - สัญญาณดิจิตอล (Digital Signal)

  4. ระบบสื่อสาร (Communication System) หมายถึง ระบบของอุปกรณ์ทางอิเล็คโทนิคที่ติดตั้งเพื่อการติดต่อสื่อสาร ระหว่างที่หนึ่งกับอีกที่หนึ่ง ในการส่งผ่านข้อมูลจะอาศัยวงจรสื่อสาร

  5. คำนิยาม (ต่อ) • วงจรสื่อสาร (Communication Circuit) หมายถึง เส้นทางเดินของสัญญาณระหว่างจุดหนึ่งกับอีกจุดหนึ่ง ที่สามารถ บรรจุช่องการสื่อสารเพื่อทำการส่งข่าวสาร • ตัวกลาง หรือ สื่อนำสัญญาณ ซึ่งเชื่อมโยงผู้ส่งและผู้รับเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Communication Channel หรือ Communication Link (ช่องการสื่อสาร) การนับจำนวนช่องสื่อสารจะนับจากอุปกรณ์แปลงสัญญาณปลายทางที่ใช้ในการส่งข้อมูลหรือข่าวสาร

  6. คำนิยาม (ต่อ) • ข่ายการสื่อสาร (Communication Network) หมายถึงระบบสื่อสารตั้งแต่สองระบบขึ้นไปเชื่อมโยงกัน เช่น เครือข่ายโทรศัพท์ ข่ายการสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์อย่างง่าย

  7. การประยุกต์การสื่อสารกับการประมวลผลข้อมูลการประยุกต์การสื่อสารกับการประมวลผลข้อมูล • ระบบสื่อสารจัดได้ว่ามีความสำคัญต่อการประมวลผลทางธุรกิจ เป็นอันมาก เพราะช่วยให้งานต่าง ๆ ดำเนินไปได้อย่างรวดเร็ว เช่น การแลกเปลี่ยน/การสอบถามข้อมูลการปรับปรุงแฟ้มข้อมูล ให้ทันสมัยต่อการใช้ ลักษณะของการนำระบบสื่อสารไปประยุกต์ใช้ จะแตกต่างกันไปตามความเหมาะสมของงานก่อให้เกิดลักษณะของการประมวลผล ที่ต่างกันออกไป ดังนี้

  8. การประยุกต์การสื่อสารกับการประมวลผลข้อมูล (ต่อ) • On-line Data Entry : งานที่มีการป้อนข้อมูลทาง terminal ข้อมูล เหล่านั้นจะถูกนำไปปรับปรุง (update) แฟ้มข้อมูลหลักที่ส่วนกลาง ทันที ข้อมูลที่ป้อนเข้านั้นก็คือรายการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นนั้นเอง

  9. การประยุกต์การสื่อสารกับการประมวลผลข้อมูล (ต่อ) • Batch Data Entry : ลักษณะการประมวลผลที่มีการรวบรวมข้อมูล ภายในระยะเวลาที่กำหนด แล้วบันทึกข้อมูลลงสื่อบันทึก แล้วส่ง ข้อมูลนั้นผ่านระบบสื่อสาร เพื่อทำการปรับปรุงแฟ้มข้อมูลหลักเมื่อถึงเวลาอันสมควร

  10. การประยุกต์การสื่อสารกับการประมวลผลข้อมูล (ต่อ) • Distributed Data Processing หมายถึง การประมวลผลที่มีการกระจายการทำงานตามสาขา โดยแต่ละสาขา จะมีฐานข้อมูลของตนเอง การติดต่อกับศูนย์กลางจะเกิดขึ้นเมื่อมี ความจำเป็นเท่านั้น

  11. การส่งผ่านข้อมูล • Communication Mode (ทิศทางการส่งสัญญาณ) • Transmission Mode (การส่งผ่านข้อมูล) • Communication Speed (ความเร็วในการส่งผ่านข้อมูล)

  12. Communication Mode • การส่งสัญญานผ่านสายส่งสัญญามี 3 ชนิด คือ - การส่งสัญญานทางเดียว (Simplex หรือ SPX) : การส่งที่อนุญาติให้ผู้ส่งสามารถส่งข้อมูล หรือข่าวสาร ไปให้ผู้รับเพียงฝ่ายเดียว ผู้รับไม่สามารถโต้ตอบได้ - การส่งสัญญานกึ่งทางคู่ (Half-Duplex หรือ HDX) : การส่งที่ผู้ส่งและผู้รับสามารถโต้ตอบกันได้แต่ในขณะใดขณะหนึ่ง จะต้องเป็นไปในทิศทางเดียวกันนั้น - การส่งสัญญานทางคู่สมบูรณ์ (Full-Duplex หรือ FDX) : การส่งที่ทั้งผู้ส่งและผู้รับสามารถส่งข้อมูลถึงกันได้ทั้งสองทิศทางในเวลาเดียวกัน

  13. Transmission Mode • ข้อมูลที่ส่งผ่านในระบบสื่อสาร จะเป็นตัวอักษรหรืออักขระต่าง ๆ ที่ถูกเข้ารหัสเป็นเลขฐานสอง (0 และ 1) สารสื่อสารซึ่งทำหน้าที่นำสัญญานข้อมูลจะประกอบด้วยสายส่งตั้งแต่ 1 สายขึ้นไป ทำให้เกิด ช่องทางการสื่อสารได้มากว่า 1 ช่องทาง จึงทำให้เรามีวิธีการส่งข้อมูล ลงไปในสารสื่อสาร 2 รูปแบบ คือ การส่งผ่านข้อมูลแบบขนาน และ การส่งผ่านข้อมูลแบบอนุกรม

  14. Transmission Mode • การส่งข้อมูลแบบขนาน (Parallel Transmission) เป็นการส่งข้อมูล ทีละหลาย ๆ บิทพร้อมกัน การส่งผ่านในลักษณะนี้ทุกบิทที่เข้ารหัส แทนหนึ่งตัวอักษร จะถูกส่งไปตามสายขนานกันไป ดังนั้นทุกบิท จะถึงผู้รับพร้อม ๆ กัน และจำนวนสายส่งจะต้องมีอย่างน้อยเท่ากับจำนวนบิทที่เข้ารหัสแทนตัวอักษร ในแต่ละระบบการส่งผ่านแบบนี้ มักจะใช้กับการส่งผ่านระบบใกล้ ได้แก่ การเคลื่อนย้ายข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ กับอุปกรณ์รอบข้าง เช่น เครื่องพิมพ์ เป็นต้น อัตราการส่งข้อมูลแบบนี้จะมีความเร็วสูง

  15. ภาพการส่งข้อมูลแบบคู่ขนานภาพการส่งข้อมูลแบบคู่ขนาน RECEIVER SENDER bit 0 bit 1 .. . . bit 6 bit 7

  16. Transmission Mode • การส่งข้อมูลแบบอนุกรม (Serial Transmission) เป็นการส่งข้อมูล ทีละบิท ทุกบิทที่เข้ารหัสแทนหนึ่งตัวอักษรจะถูกส่งผ่านไปตามสายส่งแบบเรียงลำดับที่ละบิทในสายส่งเพียงสายเดียว ทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายในเรื่องสายส่งสัญญาน จึงนิยมใช้กันมากในการส่งข้อมูลระยะไกล ถึงแม้อัตราการส่งจะช้ากว่าการส่งแบบขนาน • การส่งข้อมูลแบบอนุกรมจำเป็นต้องมีวิธีควบคุมการส่ง เพื่อให้เครื่องรับ/ผู้รับ ทราบได้ว่าจะแบ่งตัวอักษรตัวที่ 1 และตัวที่ 2 ตรงบิทใด วิธีการควบคุมดังกล่าวมี 2 วิธี คือ แบบซิงโครนัส และแบบอะซิงโคนัส

  17. ภาพการส่งข้อมูลแบบอนุกรมSERIAL TRANSMISSION

  18. การควบคุมการส่งแบบอนุกรมการควบคุมการส่งแบบอนุกรม • การซิงโครนัส (Synchronous) เป็นลักษณะการส่งสัญญานที่มีจังหวะเวลาของสัญญานนาฬิกาควบคุมนั่นคือ จะต้องให้สัญญาณนาฬิกา (colck) ที่จุดปลายทั้งสองคือผู้ส่งและ ผู้รับ ที่จุดผู้ส่งสัญญานาฬิกาจะเป็นตัวคอยบอกผู้ส่งว่าให้ถ่ายเทข้อมูลเป็นบิทลงสายส่งด้วยความถี่เท่าไร ที่จุดผู้รับสัญญาณนาฬิกาจะเป็นตัวบอกว่าจะต้องมีข้อมูลที่เป็นบิทเข้ามาตามสายส่งด้วยความถี่เท่าไร วิธีนี้จะเหมาะกับระบบที่มีการส่งข้อมูลตลอดเวลา

  19. การควบคุมการส่งแบบอนุกรมการควบคุมการส่งแบบอนุกรม • การอะซิงโครนัส (Asynchronous) เป็นลักษณะการส่งที่ส่งที่ละตัวอักษร โดยเพิ่มบิทพิเศษเปิดหัวและท้ายกลุ่มบิทที่ใช้แทนตัวอักษรนั้น เรียกบิทที่นำหน้ากลุ่มว่า Start bit บิทที่ปิดท้ายว่า Stop bit ในการส่งจะส่งตัวอักษรตัวใดตัวหนึ่งไปทันทีทันใด จะเป็นเวลาใดก็ได้ ในระบบนี้ผู้ส่งและผู้รับจะต้องมีการกำหนดจำนวนบิทที่ใช้เป็น Start bit, Stop bit และจำนวนบิทที่ใช้แทนหนึ่งตัวอักษร

  20. Communication Speed อัตราความเร็วในการส่งผ่าน มี 2 ชนิด คือ 1) อัตราความเร็วในการส่งผ่านข้อมูล (Data Transfer Rate) 2) อัตราความเร็วในการส่งสัญญาน (Data Signaling Rate)

  21. อัตราความเร็วในการส่งผ่านข้อมูลอัตราความเร็วในการส่งผ่านข้อมูล อัตราความเร็วในการส่งผ่านข้อมูล อัตราส่วนที่แสดงถึงปริมาณข้อมูลที่ส่งผ่านไปได้ในหนึ่งหน่วยเวลา เช่น อัตราความเร็วในการส่งข้อมูลเป็น 1,200 บิทต่อวินาที (BPS : Bits Per Second)หมายความว่าในช่วงเวลา 1 วินาที มีข้อมูลส่งผ่านออกไปทั้งสิ้น 1,200 บิท

  22. อัตราความเร็วในการส่งสัญญาณอัตราความเร็วในการส่งสัญญาณ • อัตราส่วนที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของสัญญานที่เกิดขึ้นในหนึ่งหน่วยเวลา • โดยทั่วไปแล้วหน่วยของของเวลาที่ใช้ คือ วินาที • Baud rate หมายถึง อัตราการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณใน 1 วินาที ก็คืออัตราความเร็วของการส่งสัญญาณ • baud rate เป็น 600 หมายความว่าในช่วงเวลา 1 วินาที มีการเปลี่ยนแปลงของสัญญานที่ส่งไปตามสายเกิดขึ้น 600 ครั้ง • ในบางครั้งอัตราความเร็วในการส่งสัญญาณนี้ก็ใช้หน่วยเป็น BPS

  23. Communication Speed • เพราะถือว่าสัญญานที่ส่งออกนั้น แทนข้อมูลในหน่วยบิทนั่งเอง เช่น baud rate เป็น 600 อัตราส่วนในการส่งข้อมูลจะเป็น 600 BPS ถ้าการเปลี่ยนแปลงของสัญญาน 1 ครั้ง แทนข้อมูล 1 บิท การเปลี่ยนแปลงสัญญาน 1 ครั้ง อาจจะแทนข้อมูลมากกว่า 1 บิท ก็ได้ เช่น กำหนดให้การเปลี่ยนแปลงสัญญาน 1 ครั้ง แทนข้อมูล 2 บิท ถ้า baud rate เป็น 1,200 แสดงว่าระบบนี้มีอัตราส่งข้อมูลเป็น 2,400 BPS

  24. Communication Carrier • ความเร็วของสื่อสารระบบหนึ่ง ๆ (โดยทั่วไปจะใช้อัตราความเร็วในการส่งสัญญานที่มีหน่วยเป็น BPS) จะแตกต่างกันเนื่องจากคุณสมบัติบางอย่างของระบบ เช่น ชนิดของ สายส่งเป็นต้น เปรียบเทียบความเร็วของการส่งสัญญานกับสายส่ง ชนิดต่าง ๆ

  25. Communication Carrier ชนิดของสายส่งตัวอย่างลักษณะทั่วไป ความเร็ว 1. Narrow band Teletype ราคาถูก, ช้า 150 2. Base band Telephone นิยมใช้ทั่วไป 1,200 - 19,200 (Voice-grade) มีสัญญาณรบกวนบ้าง 3. Broad band Leased line ราคาแพง 20,000 - 300,000 Microwave มีสัญญาณรบกวนน้อย Satellite ส่งได้เร็ว Fiber optics

  26. Communication Carrier • เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เป็นตัวกลางในการนำพาข่าวสาร ได้แก่ • สายโคแอกเซียล (Coaxial Cables) เป็นสายไฟที่ถูกออกแบบมาพิเศษสำหรับเป็นสื่อนำข้อมูลที่มีความเร็วสูงถูกรบกวนด้วยสัญญาณภายนอกได้น้อย นิยมใช้กับการติดต่อสื่อสารที่อยู่ไม่ไกลนัก • ไมโครเวฟ (Microwave)สัญญาณที่ส่งผ่านจะอยู่ในรูปของสัญญาณแม่เหล็กไฟฟ้า(Electromagnetic radiation) ซึ่งมีความถี่สูง นิยมใช้กับการสื่อสารระยะไกล

  27. Communication Carrier ดาวเทียม (Satellite) ใยแก้ว (Optical Fibers) เป็นอุปกรณ์นำข้อมูลชนิดใหม่ มีลักษณะคล้ายท่อแก้วเล็ก ๆ สัญญาณข้อมูลที่นำมาเป็นสัญญาณแสง ดังนั้นในการส่งข้อมูลจะมีการผสมสัญญานข้อมูลเข้ากับสัญญาณแสงส่งไปตามสาย สัญญาณแสงจะเดินทางผ่านไปในท่อแก้วนี้ โดยการสะท้อนไปตามผนังของท่อแก้ว สายชนิดนี้สามารถส่งข้อมูลด้วย ความเร็วสูง สัญญาณรบกวนได้น้อย

  28. ปลอกหุ้ม แก้วหุ้ม ปลอกหุ้ม แก้วหุ้ม แกนนำแสง ลำแสง แกนนำแสง ใยแก้ว (Optical Fibers)

  29. MRICROWAVEand SATELLITE

  30. เครื่องอำนวยความสะดวกเกี่ยวกับการสื่อสารเครื่องอำนวยความสะดวกเกี่ยวกับการสื่อสาร • ระบบงานหนึ่ง ๆ อาจมีการใช้การสื่อสารหลาย ๆ แบบ ในการส่งข้อมูลระยะใกล้สามารถส่งไปตามสายปกติได้ การส่งข้อมูลตามสายโดย ทั่วไปนั้น จะอยู่ในรูปของสัญญาณดิจิตอล สัญญาณประเภทนี้ถ้าส่งไประยะไกล ๆ อาจจะมีการสูญหาย หรือ การผิดเพี้ยนของสัญญาณเกิดขึ้นได้ เพื่อให้การส่งระยะไกลมีประสิทธิภาพ จึงได้มีอุปกรณ์หรือเครื่องมือพิเศษเพิ่มเข้ามาในระบบ

  31. MODEM(Modulation and Demdulation) • การส่งข้อมูลระยะไกลนิยมส่งในรูปของสัญญานอนาลอก ดังนั้นจึงต้องมีอุปกรณ์ตัวหนึ่งที่ทำหน้าที่ในการเปลี่ยนสัญญาน จากสัญญาณดิจิตอลไปเป็นสัญญานอนาลอก แล้วผสมสัญญานที่ได้เข้ากับสัญญานมาตรฐาน<อยู่ในรูปของ SINE wave เรียกสัญญานมาตรฐานนี้ว่า สัญญานพาห์ (Carrier signal)> เรียกขบวนการดังกล่าวว่า Modulation สัญญาน ผสมที่ได้ (สัญญานข้อมูล + สัญญานพาห์) จะถูกส่งไปตามสายสื่อสารเมื่อปลายทาง

  32. MODEM(Modulation and Demodulation) • ที่สถานีรับได้รับสัญญาณนั้นแล้ว ก็จะทำการแยกสัญญานออกจากสัญญานพาห์ แล้วแปลงสัญญานข้อมูลที่แยกได้กลับไปเป็นสัญญาณดิจิตอล เรียกขบวนการนี้ว่า Demodulation อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ Modulation และ Demodulation เรียกว่า MODEM หรือ Data Set

  33. เครื่องอำนวยความสะดวกเกี่ยวกับการสื่อสารเครื่องอำนวยความสะดวกเกี่ยวกับการสื่อสาร • Multiplexer : อุปกรณ์ที่ควบคุมการส่งข้อมูลผ่านสายสื่อสาร (Communication Link) โดยการแบ่งช่องการสื่อสาร (Communication Channel) ด้วยจำนวนจุดที่ทำการส่ง/รับสัญญานออกเป็นช่องการสื่อสารย่อย ๆ (Subchannel) นั่นคือฝ่ายรับ Multiplexer จะทำหน้าที่รวมสัญญานที่เข้ามาจากหลายจุด แล้วส่งผ่านสัญญาณนั้นไปตามช่องการสื่อสารเดียวกัน ทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายและไม่จำเป็นต้องใช้ MODEM นอกจากนี้ Multiplexer ที่อยู่ ณ ฝ่ายรับจะทำหน้าที่เป็น Message Switching คือทำการแยกข้อมูลที่รวมกันมาในช่องการสื่อสารเดียวกัน ส่งต่อแก่ผู้รับของข้อมูลแต่ละส่วน

  34. การผสมสัญญานข้อมูลกับสัญญานพาห์การผสมสัญญานข้อมูลกับสัญญานพาห์ • ในการผสมสัญญาข้อมูลเข้ากับสัญญานพาห์นั้น อาศัยการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติของคลื่นพาห์ ทำให้มีเทคนิคที่ใช้ในการทำ modulation 3 เทคนิค คือ • Amplitude Modulation (AM) • Frequency Modulation (FM) • Phase Modulation (PM)

  35. การผสมสัญญานข้อมูลกับสัญญาณพาห์การผสมสัญญานข้อมูลกับสัญญาณพาห์ • Amplitude Modulation แอมปลิจูดของสัญญาณพาห์จะเปลี่ยนแปลงไปตามค่าของสัญญาน ข้อมูลโดยคุณสมบัติอื่น ๆ ของสัญญาณพาห์คงที่

  36. การผสมสัญญาณข้อมูลกับสัญญานพาห์การผสมสัญญาณข้อมูลกับสัญญานพาห์ • Frequency Modulation ความถี่ของสัญญาณพาห์จะเปลี่ยนแปลงไปตามค่าของสัญญานข้อมูลโดยคุณสมบัติอื่น ๆ ของสัญญาณพาห์คงที่

  37. การผสมสัญญานข้อมูลกับสัญญานพาห์การผสมสัญญานข้อมูลกับสัญญานพาห์ • Phase Modulation มุมเฟสของสัญญานพาห์จะเปลี่ยนแปลงไปตามค่าของสัญญานข้อมูลโดยคุณสมบัติอื่น ๆ ของสัญญาณพาห์คงที่

  38. เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประมวลผลผ่านเครือข่ายเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประมวลผลผ่านเครือข่าย • เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Networks) เครือข่ายคอมพิวเตอร์ หมายถึง คอมพิวเตอร์ตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไปเชื่อมโยงกัน และมีการแลกเปลี่ยนข่ายสารซึ่งกันและกัน โดยคอมพิวเตอร์เหล่านั้นต้องเป็นเครื่องจักรอัตโนมัติ คือเครื่องใดเครื่องหนึ่งที่ต่อถึงกันจะไม่สามารถควบคุมหรือสั่งการอีกเครื่องหนึ่งได้ การเชื่อมโยงระหว่างคอมพิวเตอร์นั้นมีได้หลายรูปแบบ เรียกรูปแบบหรือลักษณะของการเชื่อมโยงของคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายว่า Network Topology

  39. เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประมวลผลผ่านเครือข่ายเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประมวลผลผ่านเครือข่าย • แต่ละรูปแบบของการเชื่อมโยงจะมีวิธีการควบคุมการส่งเครือข่ายเรียกว่า Network Topology แต่ละรูปแบบของการเชื่อมโยงจะมีวิธีการควบคุมการส่งข่าวสารที่แตกต่างกัน • จึงจำเป็นต้องมี กฎ ระเบียบ หรือข้อตกลงเกี่ยวกับวิธีการต่าง ๆ ที่ใช้ในการควบคุมการส่งข่าวสาร/ข้อมูล เรียก กฎ ระเบียบ หรือข้อตกลงเหล่านี้ว่า Protocols

  40. Network Topology • Network Topology คือรูปแบบของการเชื่อมโยงมีหลายรูปแบบ ในที่นี้จะกล่าวถึงบางรูปแบบเท่านั้น ดังนี้ • Star Network การเชื่อมโยงแบบดาว ในการเชื่อมโยงแบบนี้คอมพิวเตอร์ตัวหนึ่งทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางควบคุมการสื่อสารภายในเครือข่าย การเชื่อมโยงแบบนี้จะมีข้อเสียคือ ถ้าคอมพิวเตอร์ที่เป็นศูนย์กลางขัดข้องจะทำให้การติดต่อสื่อสารภายในระบบหยุดชะงัก

  41. เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประมวลผลผ่านเครือข่ายเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประมวลผลผ่านเครือข่าย • Loop Network • การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์กับเครื่องที่อยู่ติดกันทั้งสองด้านโดยตรงจะไม่มีคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลาง ทำให้เกิดลักษณะการวนรอบ ผลจากการเชื่อมแบบนี้ทำให้แต่ละ node ในเครือข่ายมีช่องการสื่อสารเพิ่มเป็น 2 ทาง การติดต่อระหว่าง node คู่หนึ่งอาจจะต้องผ่าน node อื่น ๆ เมื่อมี node ใด node หนึ่งเสีย จะมีผลกระทบกับการสื่อสารระหว่าง node นั้นเท่านั้น ไม่ทำให้การสื่อสารของระบบหยุดชะงัก

  42. เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประมวลผลผ่านเครือข่ายเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประมวลผลผ่านเครือข่าย • Plex Network เป็นลักษณะของการเชื่อมโยงอย่างสมบูรณ์ ทุก node จะสามารถติดต่อกับ node อื่น ๆ ได้โดยตรง การเชื่อมแบบนี้จะทำให้เสียค่าใช้จ่ายสูง • Bus Network การจัดแบบนี้ทุก node จะใช้ช่องการสื่อสารรวมกัน ดังนั้นในการติดต่อสื่อสารจึงต้องมีกลไกควบคุมให้แต่ละ node ส่งผ่านข้อมูลไม่พร้อมกัน การเชื่อมต่อแบบนี้มีข้อดีคือ การขยายระบบจะทำได้ง่าย

  43. PLEX NETWORK BUS NETWORK

  44. การประมวลผลผ่านเครือข่ายการประมวลผลผ่านเครือข่าย • จากรูปแบบการเชื่อมโยงของคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย ทำให้การประมวบผลในเครือข่ายมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไป สามารถจำแนกการประมวลผลได้เป็น 3 รูปแบบดังนี้

  45. การประมวลผลผ่านเครือข่ายการประมวลผลผ่านเครือข่าย Centralized Processing : เป็นระบบที่การประมวลผลทุกอย่าง เกิดขึ้นที่ศูนย์กลาง (สำนักงานใหญ่) สาขามีหน้าที่เพียงป้อนข้อมูลเข้าหรือ นำข้อมูลจากศูนย์กลาง เท่านั้น Decentralized Processing : เป็นระบบที่แต่ละจุดจะมีการประมวลผลและฐานข้อมูลของตนเอง การติดต่อสื่อสารกับจุดต่าง ๆ จะเกิดขึ้นเมื่อมีต้องการแลกเปลี่ยนข่าวสารระหว่างกัน

More Related