1 / 36

IV > Feasibility Study (การศึกษาความเป็นไปได้)

Information Technology. 4. IV > Feasibility Study (การศึกษาความเป็นไปได้). ศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study). 1. ความเป็นไปได้ทางด้านเทคนิค ( Technical Feasibility). 2. ความเป็นไปได้ทางด้านเศรษฐศาสตร์ ( Economical Feasibility). 3. ความเป็นไปได้ทางด้านการปฏิบัติงาน

Download Presentation

IV > Feasibility Study (การศึกษาความเป็นไปได้)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Information Technology 4 IV > Feasibility Study (การศึกษาความเป็นไปได้)

  2. ศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) 1. ความเป็นไปได้ทางด้านเทคนิค (Technical Feasibility) 2. ความเป็นไปได้ทางด้านเศรษฐศาสตร์ (Economical Feasibility) 3. ความเป็นไปได้ทางด้านการปฏิบัติงาน (Operational Feasibility) • ประเมินจาก 4 ด้าน • ต้นทุนการพัฒนาระบบ เช่น Hardware, Software, ทีมงาน, ลิขสิทธิ์ • ต้นทุนการปฏิบัติงาน เช่น เงินเดือนผู้ปฏิบัติงาน • ผลตอบแทนที่สามารถประเมินค่าได้ เช่น ยอดขายที่เพิ่มขึ้น, ลดต้นทุน • ผลตอบแทนที่ไม่สามารถประเมินค่าได้ เช่น ความพึงพอใจของลูกค้า, การบริการที่ดี • สามารถนำเสนอสารสนเทศได้ถูกต้อง • ระบบตรงตามความต้องการของผู้ใช้ • ระยะเวลาในการพัฒนาใหม่ยาวนานเท่าไร • มีผลกระทบต่อขั้นตอนการปฏิบัติงานหรือไม่ • ต้องปลดพนักงานหรือไม่ จะมีผลกระทบอะไรกับพนักงานที่ถูกปลด • มีความเสี่ยงต่อภาพพจน์ของบริษัทด้านใดบ้าง • จำเป็นต้องจัดหาอุปกรณ์ใหม่หรือไม่ • อุปกรณ์ที่จัดหามาสามารถรองรับเทคโนโลยีในอนาคตได้หรือไม่ • ฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์เข้ากันได้หรือไม่ • ทีมงานมีความเชี่ยวชาญในการนำเทคโนโลยีที่มีอยู่มาใช้งานได้หรือไม่

  3. ต้นทุนการพัฒนาระบบ (Development Costs) • ค่าแรงงาน เช่น ค่าวิเคราะห์และออกแบบ, ค่าเขียนโปรแกรม, ค่าออกแบบเว็บ • ค่าที่ปรึกษาภายนอก • ค่าฝึกอบรมทีมพัฒนา • ค่าฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ • ค่าติดตั้งระบบ • ค่าแปลงข้อมูล • ค่าพื้นที่สำนักงานและอุปกรณ์สำนักงาน

  4. ต้นทุนการปฏิบัติงาน (Operational Costs) • ค่าอัปเกรดซอฟต์แวร์ • ค่าลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ • ค่าซ่อมแซมอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ • ค่าอัปเกรดฮาร์แวร์ • ค่าแรงงานทีมปฏิบัติการ เช่น ค่าเว็บมาสเตอร์, ค่าช่างเทคนิคเครือข่าย • ค่าระบบการสื่อสาร • ค่าฝึกอบรมของผู้ใช้งาน

  5. ศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) • ตัวอย่าง cost-benefit ในการพัฒนาระบบภายใน 4 ปี

  6. Cash Flow Analysis (วิเคราะห์กระแสเงินสด)

  7. แบบทดสอบ Cash Flow Analysis

  8. การบริหารโครงการ หมายถึง การรู้จัดการวางแผน และควบคุมโครงการให้โครงการนั้นเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ และเป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนดอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

  9. สาเหตุสำคัญที่ส่งผลต่อความล้มเหลวในโครงการซอฟต์แวร์สาเหตุสำคัญที่ส่งผลต่อความล้มเหลวในโครงการซอฟต์แวร์ • ขาดการศึกษาความเป็นไปได้ที่ดีพอ • ความต้องการที่รวบรวมมา ไม่ชัดเจนหรือไม่สมบูรณ์ • ขาดการประสานงานที่ดีระหว่าง ผู้ใช้กับ SA • ขาดการควบคุมที่ดี • ผู้ใช้ไม่ยอมรับในระบบ • ระบบทำงานผิดพลาดบ่อยครั้ง • ความไม่ชำนาญงานของนักวิเคราะห์ระบบ • นโยบายของผู้บริหารไม่ชัดเจน

  10. ผังแกนท์ (Gantt Chart) ข้อเสียของ Gantt Chartคือ ไม่สามารถแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของกิจกรรมต่างๆ และไม่สามารถบอกได้ว่าถ้ากิจกรรมที่เกิดขึ้นก่อนหน้าเกิดความล่าช้าแล้วจะมีผลกระทบกับกิจกรรมที่เกิดขึ้นทีหลังอย่างไร หมายถึง แผนภาพที่เขียนแทนงานต่าง ๆ ของโครงการในรูปกราฟแท่ง โดยใช้แกน Y แทนงานต่าง ๆ และแกน X แทนเวลาในการทำงาน แกน Y แกน X

  11. เครื่องมือสนับสนุนการออกแบบและพัฒนาระบบเครื่องมือสนับสนุนการออกแบบและพัฒนาระบบ

  12. ตารางปฏิบัติงาน

  13. ตารางปฏิบัติงาน

  14. ขั้นตอนการสร้าง Gantt Chart • สร้างกราฟกำหนดแกน Y แทนงาน และแกน X แทนระยะเวลา • แกน Y เขียนชื่องานเรียงลำดับจากบนลงมาล่าง • แกน X เขียนระยะเวลาแบ่งเป็นช่วง ๆ ละเท่า ๆ กัน • สร้างกราฟแท่งของแต่ละกิจกรรมตามช่วงระยะเวลาที่กำหนด ดังนี้ - เลือกกิจกรรมที่เริ่มต้นได้ทันทีมาสร้างก่อน - เลือกกิจกรรมที่สามารถต่อท้ายกิจกรรมอื่นได้เป็นลำดับต่อไป - กรณีต้องต่อท้ายกิจกรรมอื่น ตั้งแต่ 2 กิจกรรมเป็นต้นไป ให้สร้างต่อท้ายกิจกรรมที่เสร็จช้าที่สุด

  15. ตัวอย่าง A B C D E 7 3 2 15 8 2 4 6 8 10 12 14 16 สรุป โครงการใช้ระยะเวลาทั้งสิ้น 15 วัน

  16. ตัวอย่าง A B C D E F G 5 2 8 6 13 15 16 2 4 6 8 10 12 14 16 สรุป โครงการใช้ระยะเวลาทั้งสิ้น 16 วัน

  17. แบบฝึกหัด ข้อที่ 1) ข้อที่ 2)

  18. เฉลยข้อที่ 1) A B C D E F G 2 5 7 11 18 20 8 2 4 6 8 10 12 14 16 18 20 สรุป โครงการใช้ระยะเวลาทั้งสิ้น 20 วัน

  19. เฉลยข้อที่ 2) A B C D E F 10 7 19 11 16 21 5 10 15 20 25 30 สรุป โครงการใช้ระยะเวลาทั้งสิ้น 21 วัน

  20. แผนภาพเพิร์ธ (Pert Diagram) คือ แผนภาพที่เขียนแทนงาน โดยแต่ละงานต้องเขียนกำกับด้วยโหนด (Node) เริ่มต้นงาน และใช้เส้นลูกศรกำหนดทิศทางการดำเนินงานของโครงการ 10 Node (โหนด)

  21. หลักเกณฑ์การสร้าง Pert Diagram 1. สร้าง Node กำหนดจุดเริ่มต้น และกำหนดหมายเลขกำกับ Node 10 2. ลากเส้นลูกศร และกำหนดจุดสิ้นสุด โดยเริ่มจากกิจกรรมที่เริ่มต้นได้ทันที่ ที่ไม่ต้องรอกิจกรรมอื่น เหนือเส้นลูกศรระบุชื่องาน และระยะเวลา คั่นด้วยเครื่องหมาย , A,4 10 20

  22. 3. กรณีมีกิจกรรมที่สามารถเริ่มต้นได้มากกว่า 1 กิจกรรม ให้ใช้จุดเริ่มต้นจุดเดียวกัน 30 D,2 10 20 A,4 4. เลือกกิจกรรมที่สามารถสร้างต่อท้ายกิจกรรมที่สร้างไว้ก่อนหน้า C,2 30 40 D,2 10 20 A,4

  23. 5. กรณีมีกิจกรรมที่ต้องต่อท้ายตั้งแต่ 2 กิจกรรมเป็นต้นไป เช่น งาน B เริ่มหลังจากงาน C,A ให้รวมโหนดของกิจกรรม C,A แล้วลากเส้นสร้างกิจกรรม B B,2 C,2 30 40 50 D,2 10 20 A,4 งาน Fเริ่มหลังจากงาน B,E ให้รวมโหนดของกิจกรรม B,E แล้วลากเส้นสร้างกิจกรรม F B,2 F,1 C,2 30 40 50 70 D,2 10 20 A,4 E,1 60

  24. 6. กรณีมีจุดสิ้นสุดมากกว่า 1 จุด ให้เลือกจุดใดจุดหนึ่งเป็นจุดสิ้นสุด ส่วนจุดที่เหลือให้นำมารวมกัน 80 K,3 B,2 F,1 C,2 30 40 50 70 D,2 10 20 A,4 E,1 60 K,3 B,2 F,1 C,2 30 40 50 70 D,2 10 20 A,4 E,1 60

  25. 7. รวมโหนดที่เชื่อมด้วยเส้นปะเป็นโหนดเดียวกัน แล้วเรียงลำดับเลขของโหนดใหม่เพื่อความสวยงาม K,3 B,2 F,1 C,2 30 40 50 70 D,2 10 20 E,1 A,4 60 K,3 B,2 F,1 C,2 20 30 40 50 D,2 10 A,4 E,1

  26. 60 B,3 10 20 D,8 C,2 30 40 50 A,5 E,5

  27. 60 B,3 10 20 D,8 C,2 30 40 50 A,5 E,5 B,3 10 20 D,8 C,2 30 40 50 A,5 E,5

  28. B,3 10 20 D,8 C,2 30 40 50 A,5 E,5 10 D,8 B,3 C,2 30 40 50 A,5 E,5 เส้นทางที่ 1 C - A - D = 2 + 5 + 8 = 15 วัน เส้นทางที่ 2 B - E = 3 + 5 = 8 วัน เส้นทางที่ 3 B - D = 3 + 8 = 11 วัน เส้นทางที่ 4 C-A-E = 2 + 5 + 5 = 12 วัน *เส้นวิกฤต คือ C-A - D เส้นทางวิกฤต (Critical) หมายถึง เส้นทางที่ใช้เวลาในการดำเนินกิจกรรมรวมของโครงการนานที่สุด และกิจกรรมที่อยู่บนเส้นทางวิกฤตจะเรียกว่า “กิจกรรมวิกฤต (Critical Activity)” เส้นทางและกิจกรรมวิกฤตจะทำให้ผู้บริหารสามารถควบคุมการดำเนินงานให้สำเร็จตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ได้

  29. ข้อที่ 1) B,3 A,2 10 20 30 F,2 E,7 C,5 D,4 40 50 60 70 G,1 70

  30. ข้อที่ 1) B,3 A,2 10 20 30 F,2 E,7 C,5 D,4 40 50 60 70 G,1 70 A,2 10 20 B,3 F,2 E,7 C,5 D,4 40 50 60 70 G,1

  31. A,2 10 20 B,3 F,2 E,7 C,5 D,4 40 50 60 70 G,1 เส้นทางที่ 1 A – B – E - F = 2+3+7+2 = 14 วัน เส้นทางที่ 2 A– C– D – E - F = 2+5+4+7+2 = 20 วัน เส้นทางที่ 3 A– C– G - F = 2+5+1+2 = 10 วัน เส้นวิกฤติ คือ A– C– D – E – F

  32. ข้อที่ 2) B,7 A,3 10 20 30 F,2 C,8 D,4 40 50 70 E,5 60

  33. B,7 A,3 10 20 30 F,2 C,8 D,4 40 50 70 60 E,5 A,3 B,7 10 20 F,2 C,8 D,4 40 50 70 E,5

  34. ข้อที่ 4) ข้อที่ 3)

  35. แบบฝึกหัด ๑.จงสร้าง Gantt Chart ๒. จงสร้าง Pert Diagram และ หา Critical Path

  36. แบบทดสอบ ๑.จงสร้าง Gantt Chart ๒. จงสร้าง Pert Diagram และ หา Critical Path

More Related