1 / 27

บทที่ 6 ต้นทุนการผลิตและรายรับจากการผลิต

บทที่ 6 ต้นทุนการผลิตและรายรับจากการผลิต. แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับต้นทุน. ต้นทุนค่าเสียโอกาส (Opportunity cost ) สิ่งที่มีมูลค่าสูงสุดที่ต้องเสียไป หรือผลประโยชน์สูงสุดที่ผู้ผลิตไม่ได้รับจากการเลือกใช้ทรัพยากรการผลิตไปในทางอื่น

holli
Download Presentation

บทที่ 6 ต้นทุนการผลิตและรายรับจากการผลิต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 6 ต้นทุนการผลิตและรายรับจากการผลิต

  2. แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับต้นทุนแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับต้นทุน • ต้นทุนค่าเสียโอกาส (Opportunity cost) สิ่งที่มีมูลค่าสูงสุดที่ต้องเสียไป หรือผลประโยชน์สูงสุดที่ผู้ผลิตไม่ได้รับจากการเลือกใช้ทรัพยากรการผลิตไปในทางอื่น • ต้นทุนชัดแจ้งและต้นทุนไม่ชัดแจ้ง (Explicit Cost and Implicit Cost) ต้นทุนชัดแจ้ง(Explicit cost) : ต้นทุนที่เกิดขึ้นจริงและมีการจ่ายออกไปเป็นตัวเงินจริงๆ

  3. ต้นทุนไม่ชัดแจ้ง (Implicit Cost) : ต้นทุนที่เกิดขึ้นจากการผลิตจริงๆ แต่ไม่มีการจ่ายออกไปเป็นตัวเงิน เกิดจากการนำปัจจัยการผลิตที่ตนเองเป็นเจ้าของมาใช้ในการผลิต ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์และต้นทุนทางบัญชี (Economics Cost and Accounting Cost) • ต้นทุนทางเศรษฐกิจ (Economics Cost) : ต้นทุนทั้งหมดที่เกิดขึ้นจากการผลิตสินค้านั้น ไม่ว่าจะมีการจ่ายไปจริงหรือไม่ก็ตาม~ (Explicit Cost + Implicit Cost) • ต้นทุนทางบัญชี (Accounting Cost) : ต้นทุนในการผลิตสินค้าที่ผู้ผลิตได้มีการจ่ายจริงและได้ลงบันทึกรายการทางบัญชีไว้~ (Explicit Cost)

  4. ต้นทุนทางเอกชนและต้นทุนทางสังคม (Private Cost and Social Cost) • ต้นทุนเอกชน (private Cost) : ต้นทุนการผลิตที่เจ้าของหน่วยผลิตจะต้องจ่ายโดยตรง ดังนั้น ต้นทุนเอกชนจะเท่ากับต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ • ต้นทุนสังคม (Social Cost) : ในการผลิตสินค้าและบริการ อาจมีต้นทุนจากการผลิตบางส่วนเกิดขึ้นกับสังคม เป็นผลให้ต้นทุนสังคมไม่เท่ากับต้นทุนเอกชน ต้นทุนที่ตกแก่บุคคลอื่นในสังคมเรียกว่า ผลกระทบภายนอก (Externalities) Social Cost = Private Cost + Externalities

  5. การวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตในระยะสั้นการวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตในระยะสั้น • ระยะสั้น คือ ระยะของเวลาการผลิตที่อย่างน้อยจะต้องมีปัจจัยคงที่ อย่างน้อยหนึ่งตัว ทำงานร่วมกับปัจจัยแปรผัน • ต้นทุนการผลิตระยะสั้น จะประกอบด้วยต้นทุนคงที่ และต้นทุนแปรผัน • ต้นทุนคงที่ (Fixed Cost : FC) : ต้นทุนในการจัดหาปัจจัยคงที่เพื่อการผลิต เช่น ค่าก่อสร้าง , ค่าที่ดิน , ค่าเครื่องจักร เป็นต้น • ต้นทุนแปรผัน (Variable Cost : VC) : ต้นทุนในการจัดหาปัจจัยแปรผัน เช่นค่าจ้างแรงงาน , ค่าวัตถุดิบ เป็นต้น

  6. ต้นทุนทั้งหมดในระยะสั้น (Total Cost : TC) คือ ผลรวมของต้นทุนคงที่และต้นทุนแปรผัน TC = FC + VC • ต้นทุนเพิ่ม (Marginal Cost : MC) คือ ต้นทุนการผลิตที่เปลี่ยนแปลงจากการผลิตสินค้าเพิ่มขึ้น 1 หน่วย MCn = TCn – TC n-1 MC = TC / Q ในระยะสั้น MC = VC / Q เพราะ FC จะคงที่ • ต้นทุนเฉลี่ย (Average Cost : AC) คือ ต้นทุนการผลิตทั้งหมดที่คิดเฉลี่ยต่อหน่วยสินค้า

  7. ต้นทุนเฉลี่ย จะเท่ากับ ผลรวมของต้นทุนคงที่เฉลี่ย และต้นทุนแปรผันเฉลี่ย AC =AFC + AVC หรือ AC = TC / Q • ต้นทุนคงที่เฉลี่ย (Average Fixed Cost : AFC) คือ ต้นทุนคงที่ทั้งหมดที่คิดเฉลี่ยต่อหน่วยสินค้า, AFC decreases when Q increases • ต้นทุนแปรผันเฉลี่ย (Average Variable Cost : AVC) คือ ต้นทุนแปรผันทั้งหมดที่คิดเฉลี่ยต่อหน่วยสินค้า AVC = VC / Q

  8. ความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนชนิดต่างๆความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนชนิดต่างๆ จำนวนผลผลิต ต้นทุนคงที่ ต้นทุนแปรผัน ต้นทุนทั้งหมด Q FC VC TC=FC+VC 0 4 04 1 4 5 9 2 4 8 12 3 4 15 19 4 4 32 36 5 4 65 69

  9. กราฟความสัมพันธ์ระหว่าง TC , FC , VC

  10. ความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนการผลิตชนิดต่างๆความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนการผลิตชนิดต่างๆ

  11. ความสัมพันธ์ระหว่าง AC ,AVC , AFC , MC

  12. ความสัมพันธ์ระหว่าง AC ,AVC , AFC , MC (continued) • Q increases, when AFC decreases • At min. AC, AC = MC • At min. AVC, AVC = MC • Gap bt. AC and AVC = AFC • MC, AC, AVC : U shape • AFC : rectangular

  13. ต้นทุนการผลิตระยะยาว • ระยะยาว คือ ระยะเวลาที่ผู้ผลิตสามารถเปลี่ยนปัจจัยการผลิตทุกชนิดได้หมด นั่นคือ สามารถเลือกขนาดของโรงงานได้ • ต้นทุนการผลิตระยะยาว (Long Run Total : LTC) จึงมีเฉพาะต้นทุนแปรผันเท่านั้น

  14. LAC = LTC / Q, at point B : LAC=SAC=LMC=SMC : Optimum scale of plant (ขนาดของโรงงานที่เหมาะสมในระยะยาว) • ต้นทุนการผลิตเฉลี่ยระยะยาว (Long Run Average Cost) คือ ต้นทุนการผลิตทั้งหมดที่คิดเฉลี่ยต่อหน่วยผลผลิตในระยะยาว

  15. รายรับจากการผลิต (Total Revenue) • รายรับจากการผลิต (Total Revenue : TR) รายได้ที่ผู้ขายได้รับจากการขายสินค้าและบริการในราคาตลาด = P x Q • รายรับเพิ่ม (Marginal Revenue : MR) รายรับทั้งหมดที่เปลี่ยนแปลงจากการที่ผู้ผลิตขายสินค้าเพิ่มขึ้น 1 หน่วย MR = TR / Q MRn = TRn – TR n-1 • รายรับเฉลี่ย (Average Revenue : AR) รายรับทั้งหมดที่ผู้ผลิตได้รับคิดเฉลี่ยต่อหน่วยผลผลิต AR = TR / Q

  16. การวิเคราะห์รายรับจากการผลิต (Total Revenue) • กรณีราคาสินค้า (P) คงที่ กรณีราคาสินค้า (P) ไม่คงที่

  17. ตารางความสัมพันธ์ระหว่าง MR , AR ,TR กรณีราคาสินค้าคงที่

  18. เส้นรายรับรวม (TR) กรณีที่ราคาสินค้าคงที่ TR TR 0 Q

  19. ความสัมพันธ์ของเส้นรายรับต่างๆความสัมพันธ์ของเส้นรายรับต่างๆ • กรณีราคาสินค้าคงที่ เส้นรายรับเฉลี่ย เส้นรายรับเพิ่มจะเป็นเส้นเดียวกัน คือ เป็นเส้นตรงขนานกับแกนนอน เนื่องจากราคาสินค้าที่ผู้ผลิตขายสินค้าทุกหน่วยมีราคาเดียวกันตลอด P P1 MR=AR=D=P 0 Q

  20. ตารางความสัมพันธ์ระหว่าง MR , AR ,TR เมื่อราคาสินค้าลดลง

  21. เส้นรายรับรวม กรณีที่ราคาสินค้าลดลง

  22. กรณีที่ราคาสินค้าที่ขายมีราคาลดลงตามกฎของอุปสงค์กรณีที่ราคาสินค้าที่ขายมีราคาลดลงตามกฎของอุปสงค์ P P1 AR=D=P MR 0 Q

  23. เงื่อนไขการผลิตที่ได้รับกำไรสูงสุด (1) • กำไร (Profit) : คือ ผลต่างระหว่างรายรับทั้งหมดกับต้นทุน • ทั้งหมด กำไรสูงสุดเมื่อ TR ห่างจาก TC มากที่สุด • กำไรรวม= TR – TC, กำไรต่อหน่วย = (TR/Q) –(TC/Q) = AR-AC ที่จุด A และ B TR ห่างจาก TC มากที่สุด Slope TR = Slope TC MR = MC

  24. เงื่อนไขการผลิตที่ได้รับกำไรสูงสุด (2) • กำไร (Profit) : คือ ผลต่างระหว่างรายรับทั้งหมดกับต้นทุน • ทั้งหมด กำไรสูงสุดเมื่อ TR ห่างจาก TC มากที่สุด • กำไรรวม= TR – TC, กำไรต่อหน่วย = (TR/Q) –(TC/Q) = AR-AC ที่จุด A และ B TR ห่างจาก TC มากที่สุด Slope TR = Slope TC MR = MC

  25. เงื่อนไขการผลิตที่ได้รับกำไรสูงสุด คือ MR=MC

More Related