1 / 24

บทที่ 6 : กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางการเกษตร

บทที่ 6 : กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางการเกษตร . 6.1 ปัจจัยเกี่ยวกับประชากร . 6.2 การปฏิรูปที่ดิน . 6.3 การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี . Y. Tech C. Tech B. Tech A. x. o. การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีที่มีผลต่อฟังก์ชั่นการผลิต. e. Y 4. d. Y 3. b. Y 2. c. Y ’ 1. a. Y 1. X 0. X 1.

hina
Download Presentation

บทที่ 6 : กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางการเกษตร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 6: กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางการเกษตร • 6.1 ปัจจัยเกี่ยวกับประชากร • 6.2 การปฏิรูปที่ดิน • 6.3 การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี

  2. Y Tech C Tech B Tech A x o การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีที่มีผลต่อฟังก์ชั่นการผลิต e Y4 d Y3 b Y2 c Y’1 a Y1 X0 X1 X2 X3

  3. สิ่งที่ต้องคำนึงถึงในการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีสิ่งที่ต้องคำนึงถึงในการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี • ความเหมาะสมของเทคโนโลยี • ควรเหมาะสมกับท้องถิ่นและสภาพของทรัพยากร • ต้องมีการทดสอบความเหมาะสมที่ดีพอ • ความเสมอภาคในการใช้เทคโนโลยี • ควรเหมาะสมต่อกลุ่มเกษตรกรส่วนใหญ่/รายย่อยด้วย • ไม่ก่อให้เกิดปัญหาช่องว่างระหว่างรายได้ • ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อคุณภาพชีวิต • คุณภาพชีวิตของทั้งเกษตรกรและผู้บริโภคต้องไม่แย่ลง • เทคโนโลยีที่ดีต้องคำนึงถึงผลผลิตที่ได้ในระยะยาว

  4. การปฏิวัติเขียว (Green Revolution) การปฏิวัติเขียว คืออะไร ? • การใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยในการผลิต เพื่อให้ได้ผลผลิตสูงขึ้น การปฏิวัติเขียวเกิดขึ้นอย่างไร • การเพิ่มขึ้นของประชากรอย่างรวดเร็ว ขณะที่ผลผลิตต่ำ • ความอดอยากและขาดโภชนาการแผ่กระจายอย่างรวดเร็ว • มีการค้นคว้าวิจัยหาพันธุ์พืชใหม่ๆ ที่ให้ผลผลิตสูงขึ้น

  5. การปฏิวัติเขียว (Green Revolution)(ต่อ) • พันธุ์พืชที่ให้ผลผลิตสูงหลายเท่าตัว เรียกว่า Hybrid varietiesหรือ High-yielding varieties (HYV) • การค้นพบเกิดขึ้นในสถานีทดลองในระดับนานาชาติ • ศูนย์ปรับปรุงข้าวสาลีและข้าวโพดระหว่างประเทศ (International Center for Maize and Wheat Improvement: CIMMYT) ที่Mexico ค้นพบข้าวโพดและข้าวสาลีลูกผสมที่ให้ผลผลิตสูง

  6. ผลของการใช้พันธุ์ข้าวสาลี HYVในเม็กซิโก

  7. ผลของการใช้พันธุ์ข้าวสาลี HYVในประเทศแถบเอเชีย

  8. การปฏิวัติเขียว (Green Revolution)(ต่อ) • สถานีวิจัยข้าวระหว่างประเทศ (International Rice Research Institute: IRRI) ที่Philippine • ปี 1965ได้พันธุ์ข้าวลูกผสมพันธุ์ใหม่ คือ พันธุ์ IR 8 • ผลผลิตข้าวโดยรวมเพิ่มสูงขึ้น

  9. ผลของการใช้พันธุ์ข้าวIR 8 ในฟิลิปปินส์

  10. การปฏิวัติเขียว (Green Revolution)(ต่อ) • สถานีวิจัยข้าวระหว่างประเทศ (International Rice Research Institute: IRRI) ที่Philippine • ปี 1965ได้พันธุ์ข้าวลูกผสมพันธุ์ใหม่ คือ พันธุ์ IR 8 • ผลผลิตข้าวโดยรวมเพิ่มสูงขึ้น • ในประเทศไทย ได้นำ IR 8ผสมพันธุ์กับข้าวพันธุ์เหลืองทองได้เป็นข้าวพันธุ์ กข.

  11. ผลได้ทางด้านสังคมเศรษฐกิจของการปฏิวัติเขียวผลได้ทางด้านสังคมเศรษฐกิจของการปฏิวัติเขียว • รายได้ที่แท้จริงเฉลี่ยต่อหัวเพิ่มขึ้นเกือบเท่าตัวในเอเชียในช่วงปี 1970-95 • ความยากจนหรือจำนวนผู้ยากจนโดยรวมลดลงจาก1.5พันล้านคนในปี1975เป็น825ล้านคนในปี1995 • การเพิ่มขึ้นของรายได้นำไปสู่การเพิ่มขึ้นในความต้องการสินค้าและบริการ

  12. ปัญหาที่เกิดจากการปฏิวัติเขียวปัญหาที่เกิดจากการปฏิวัติเขียว • ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางด้านรายได้ • ความต้องการปัจจัยการผลิตอื่นๆ ประกอบด้วย เช่น ปุ๋ย สารเคมี และน้ำ • เกษตรกรที่รวยหรือรายใหญ่ มีโอกาสในการเข้าถึงดีกว่า • พื้นที่ที่เหมาะสมมีจำนวนจำกัด • ผลประโยชน์ตกอยู่กับผู้เป็นเจ้าของที่ดินมากกว่า

  13. ปัญหาที่เกิดจากการปฏิวัติเขียว(ต่อ)ปัญหาที่เกิดจากการปฏิวัติเขียว(ต่อ) • ปัญหาสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมและการสูญเสียความหลาก หลายทางชีวภาพ การใช้ปุ๋ยและสารเคมีที่มากเกินไปและไม่เหมาะสม ความหลากหลายของพันธุกรรมพืชลดลง เนื่องจากการหันมาใช้พันธุ์ข้าวพันธุ์ใหม่

  14. การใช้ปุ๋ยและสารเคมี • การใช้ปุ๋ยและสารเคมีเข้ามามีบทบาทมากขึ้น ในช่วงการปฏิวัติเขียว • อัตราการใช้ปุ๋ยเพิ่มขึ้นในประเทศต่างๆ ~ 10-15%ต่อปี ประเทศไทย ปี 1960-75และ84-93 มีการใช้ปุ๋ยเพิ่มขึ้น17.2%ต่อปี

  15. การเพิ่มผลผลิตข้าว จากการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีต่างๆปี 1965-1980 (ร้อยละ)

  16. เครื่องสูบน้ำ รถไถเล็ก การใช้เครื่องจักรกลทางการเกษตร • มีการวิจัยพบว่า สาเหตุที่ทำให้การใช้พันธุ์ HYVไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร เนื่องมาจาก • ขาดการควบคุมการให้น้ำ • ขาดกำลังคนในการทำงานที่เพียงพอ • ขาดการจ้างงานที่ดีพอ • ประเทศกำลังพัฒนามีการใช้เครื่องจักรกลทางการเกษตรที่น้อยกว่าประเทศที่พัฒนาแล้ว

  17. การใช้เครื่องจักรกลทางการเกษตร(ต่อ)การใช้เครื่องจักรกลทางการเกษตร(ต่อ) • ประเด็นสำคัญอยู่ที่ ประเภทของเครื่องจักรและระดับการใช้เครื่องจักร • มีการศึกษา พบว่า เครื่องมือขนาดเล็กมีแรงม้าไม่สูง เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตได้ดีกว่า • การใช้เครื่องจักรในการลดความเสียหายของผลผลิตและช่วยในการจัดการให้ผลิตได้ทันเวลา

  18. สรุป • การเปลี่ยนแปลงทางการเกษตรเกิดจากปัจจัยหลายอย่าง • กระบวนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น เป็นสิ่งที่ได้รับการกระตุ้นจากหลายๆ ทางด้วยกัน • การใช้เทคโนโลยีต้องคำนึงถึงความเหมาะสมกับสภาพภายในประเทศ และผลได้ในระยะยาว

  19. การใช้เครื่องจักรต่อผลผลิตในประเทศต่างๆการใช้เครื่องจักรต่อผลผลิตในประเทศต่างๆ ผลผลิต (ตันต่อเฮกแตร์) ไต้หวัน อียิปต์ 6 ญี่ปุ่น สหรัฐ ยุโรป 5 4 3 2 1 แรงม้าต่อเฮกแตร์ 0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0

  20. การตอบสนองต่อการใช้ปุ๋ยของพันธุ์ข้าวสาลีดั้งเดิมและใหม่การตอบสนองต่อการใช้ปุ๋ยของพันธุ์ข้าวสาลีดั้งเดิมและใหม่

  21. การเพิ่มขึ้นของการใช้ปุ๋ยในประเทศกำลังพัฒนาการเพิ่มขึ้นของการใช้ปุ๋ยในประเทศกำลังพัฒนา

  22. ปริมาณปุ๋ยที่ อ.ต.ก. จำหน่ายให้แก่เกษตรกร พ.ศ. 2531-2541

More Related