1 / 30

ปรัชญาทั่วไป (General Philosophy) หมู่ 2

ปรัชญาทั่วไป (General Philosophy) หมู่ 2. ประมวลการสอน ภาคปลาย ปีการศึกษา 2555. 1. คณะ มนุษยศาสตร์ ภาควิชา ปรัชญาและศาสนา 2. รหัสวิชา 01387102 (หมู่ 2) ชื่อวิชา ( ภาษาไทย ) ปรัชญาทั่วไป จำนวนหน่วยกิต 3 (3-0) ( ภาษาอังกฤษ ) General Philosophy

Download Presentation

ปรัชญาทั่วไป (General Philosophy) หมู่ 2

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ปรัชญาทั่วไป (General Philosophy) หมู่ 2

  2. ประมวลการสอน ภาคปลาย ปีการศึกษา 2555 1. คณะมนุษยศาสตร์ภาควิชาปรัชญาและศาสนา 2. รหัสวิชา 01387102 (หมู่ 2) ชื่อวิชา (ภาษาไทย) ปรัชญาทั่วไป จำนวนหน่วยกิต 3 (3-0) (ภาษาอังกฤษ) General Philosophy วิชาพื้นฐาน-หมวดวิชา ศึกษาทั่วไป, เลือกเสรี วัน จันทร์,ศุกร์ เวลา11.00 - 12.30 สถานที่ LH. 3 - 301

  3. 3. ผู้สอน อาจารย์ผู้สอน: อาจารย์ชัชวาลย์ ชิงชัย อาจารย์ประจำภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน กรุงเทพฯ

  4. - วันจันทร์,ศุกร์ เวลา 11.00-12.30 น. สถานที่ LH3-301 - โทรศัพท์ ภาควิชาฯ 0-2579-6525-6 ต่อ 114 ฝากข้อความ 101 - โทรศัพท์ ภาควิชาฯ 0-2579-6525-6 ต่อ 114 ฝากข้อความ 101 - แฟกซ์ 0-2942-8719 - ภายใน 4323 มือถือ 0812545515, 0812458482 - อีเมล์ fhumcwc@ku.ac.th http://buddhism.rilc.ku.ac.th/chachawarn/chachawarn.html 4. การให้นิสิตเข้าพบและให้คำแนะนำนอกเวลาเรียน

  5. 5. จุดประสงค์ของวิชา 1. เพื่อให้นิสิตฝึกระบบความคิดให้เป็นเหตุและผล 2. เพื่อให้นิสิตได้ยอมรับความคิดเห็นในเชิงเหตุผลของผู้อื่น 3. เพื่อการนำปรัชญาไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาชีวิตและสังคม

  6. ความหมาย ขอบเขต และปัญหาปรัชญา ความคิดทางปรัชญาที่สำคัญ การประยุกต์ใช้ปรัชญากับชีวิตและสังคม Meaning, scope and problems of philosophy. Important philosophical ideas. Application of philosophy to life and society. 6. คำอธิบายรายวิชา

  7. 7. เค้าโครงรายวิชา 1. ความหมายของปรัชญา ในทางตะวันออกและทางตะวันตก 3 ชั่วโมง 2. ความสัมพันธ์ของปรัชญา กับวิชาการแขนงอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 1½ ชั่วโมง 3. ขอบเขตและปัญหาปรัชญา : อภิปรัชญา ญาณวิทยาและจริยศาสตร์ 1½ ชั่วโมง

  8. 4.1. จิตนิยม 6 ชั่วโมง 4.2. สสารนิยม 6 ชั่วโมง 5. ญาณวิทยา 5.1 เหตุผลนิยม 3 ชั่วโมง 5.2 ประสบการณ์นิยม 3 ชั่วโมง 5.3 สัญชาตญาณนิยม 3 ชั่วโมง 4. อภิปรัชญาในลักษณะทั่วไปและความคิดเกี่ยวกับมนุษย์

  9. 6. คุณวิทยาในส่วนของจริยศาสตร์ 6.1 อุดมคติของชีวิต 6 ชั่วโมง 6.2 มาตรการตัดสินศีลธรรม 6 ชั่วโมง 7. การประยุกต์ใช้ปรัชญากับชีวิตและสังคม6 ชั่วโมง รวม 45 ชั่วโมง

  10. 8. วิธีการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 1. การบรรยาย 2. อภิปรายและตอบปัญหา 3.ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง 4.การเรียนการสอนผ่านเว็บไซต์

  11. 9. อุปกรณ์สื่อการสอน 1. ไวท์บอร์ด 2. เครื่องฉายข้ามศีรษะ 3. วีดีทัศน์ 4. เพาเวอร์พอยท์ 5. เอกสารประกอบการบรรยาย

  12. 10. การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน 1. การมีส่วนรวมในการเรียน 12 คะแนน 2. ความประพฤติ 8 คะแนน 3. ทำงานเก็บคะแนน 20 คะแนน 4. สอบปลายภาค 60 คะแนน รวม 100 คะแนน

  13. ?.. 11. การประเมินผลการเรียน เนื่องจากมีนิสิตลงทะเบียนจากทุกคณะ ดังนั้น อาจารย์ผู้สอนจึงขอสงวนสิทธิ์ที่จะใช้เกณฑ์ต่าง ๆ เพื่อความเหมาะสม

  14. 12. เอกสารอ่านประกอบการเรียน กีรติบุญเจือ. จริยศาสตร์สำหรับผู้เริ่มเรียน. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2519. เฉลิมเกียรติผิวนวล.อภิจริยศาสตร์. กรุงเทพฯ : สมิต. ไม่ปรากฏปีที่พิมพ์. ชัชชัยคุ้มทวีพร.จริยศาสตร์ทฤษฎีและการวิเคราะห์ปัญหาจริยธรรม. กรุงเทพฯ : Mild Publishing. 2540. วศินอินทสระ. จริยศาสตร์. กรุงเทพฯ : บรรณาคาร. 2529 .

  15. วิทย์วิศทเวทย์. จริยศาสตร์เบื้องต้น. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์, 2532. . ปรัชญาทั่วไป. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์. พิมพ์ครั้งที่ 9. 2533. สุเชาวน์พลอยชุม. ปรัชญาทั่วไป. กรุงเทพฯ: มหามกุฎราชวิทยาลัย, 2538. . จริยศาสตร์แนวพุทธ. กรุงเทพฯ: มหามกุฎราชวิทยาลัย, พิมพ์ครั้งที่ 2, 2532.

  16. 13. ตารางสอนตลอดภาคเรียน

  17. ตารางสอนตลอดภาคเรียน(ต่อ)ตารางสอนตลอดภาคเรียน(ต่อ)

  18. ตารางสอนตลอดภาคเรียน(ต่อ)ตารางสอนตลอดภาคเรียน(ต่อ)

  19. ตารางสอนตลอดภาคเรียน(ต่อ)ตารางสอนตลอดภาคเรียน(ต่อ)

  20. ตารางสอนตลอดภาคเรียน(ต่อ)ตารางสอนตลอดภาคเรียน(ต่อ)

  21. ตารางสอนตลอดภาคเรียน(ต่อ)ตารางสอนตลอดภาคเรียน(ต่อ)

  22. ตารางสอนตลอดภาคเรียน(ต่อ)ตารางสอนตลอดภาคเรียน(ต่อ)

  23. หมายเหตุ :  • 1. แต่งกายให้ถูกต้องตามระเบียบฝ่าฝืนจะไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าชั้นเรียน • 2. อาจารย์จะเริ่มสอนเวลา 11.15 น. จะมีการเช็คชื่อทุกครั้ง การเช็คชื่อจะมีเฉพาะผู้ที่มาเรียนและขาดเรียนเท่านั้นเนื่องจากจะมีการล๊อคประตูห้องในขณะที่เริ่มสอน • 3. คะแนนการมีส่วนร่วมในการเรียน 12 คะแนน มีหลักการให้คะแนน ดังนี้

  24. - ในกรณีที่ขาดเรียน ตัดคะแนนครั้งละ 2 คะแนน - ในกรณีที่ขาดเรียนแต่มีใบลา ตัดคะแนนครั้งละ 1 คะแนน * นิสิตจะต้องมีเวลาเรียนไม่ต่ำกว่า 80 % จึงจะมีสิทธิ์สอบ ขาดเรียนได้ไม่เกิน 6 ครั้ง * ในกรณีที่ขาดเรียน จะถูกหักคะแนนต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ ถ้าขาดเรียน 6 ครั้ง คะแนนการมีส่วนร่วมจะถูกหักจนเหลือศูนย์ ถูกหักการทำงานท้ายชั่วโมง ถูกหักคะแนนความประพฤติ 4.คะแนนความประพฤติ 8 คะแนน มีหลักการให้คะแนน ดังนี้ เข้าเรียนทุกครั้งไม่ขาด ไม่ลา ไม่สาย ให้ 4 คะแนน ทำงานท้ายชั่วโมงส่งครบทุกครั้งให้ 4คะแนน

  25. 5. ทำงานท้ายชั่วโมง 24 ครั้ง เก็บคะแนน 20 คะแนน (ถ้านิสิตขาดเรียน จะไม่มีสิทธิ์ทำงานย้อนหลัง ยกเว้นจะมีใบลาและมีเหตุผลสมควรในการขาดจึงจะพิจารณาให้ทำงานย้อนหลังเพื่อเก็บคะแนนได้) - ไม่ส่งเสียงรบกวนขณะเข้าเรียน - ปิดอุปกรณ์การสื่อสารทุกชนิดขณะเข้าเรียนปรัชญาคณะมนุษยศาสตร์ ฝ่าฝืน จะถูกตัดคะแนนและรายงานให้อาจารย์ที่ปรึกษาทราบตามควรแก่กรณี

  26. ขึ้นชื่อว่าวิชาควรศึกษาทุกอย่างไปขึ้นชื่อว่าวิชาควรศึกษาทุกอย่างไป ศึกษาให้เข้าใจเป็นคุณเครื่องเรืองปัญญา แต่ว่าอย่าพึงใช้ทุกอย่างไปที่ศึกษา ชีวิตและเวลาเป็นปัญหาให้จำนน จะใช้วิชาใดจงใส่ใจในเหตุผล ทำใดต้องใจคนนั่นคือผลของวิชา

  27. ปณิธานคณะมนุษยศาสตร์ ปณิธานคณะมนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์มีปณิธานในการผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพ เพียบพร้อมด้วยความรู้ทางวิชาการและวิชาชีพที่ทันสมัย มีความใฝ่รู้ มีความคิดวิเคราะห์ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ตลอดจนเป็นบัณฑิตที่มีจริยธรรม คุณธรรม เป็นแบบอย่างที่ดีแก่สังคมและดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข

  28. ปรัชญาคณะมนุษยศาสตร์ ปรัชญาคณะมนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์มีปรัชญาการจัดการศึกษาที่เสริมสร้างบุคคลให้เป็นคนที่สมบูรณ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งมีความเจริญทางสติปัญญา คุณค่าของจิตใจ การใช้วิจารณญาณอย่างรอบคอบและปรับตัวได้อย่างเหมาะสม

  29. ขอให้ทุกคนจงโชคดี ตามสติกำลังของแต่ละคน

More Related