1 / 17

เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์ แรงงาน

เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์ แรงงาน. รองศาสตราจารย์ดร. ภาวดี ทองอุไทย กรกฎาคม 2552. เหตุใดหน่วยผลิต (firm) จึงต้องการจ้างแรงงาน?. เพราะมีความต้องการสินค้าบริการจากผู้บริโภค หน่วยผลิตทำหน้าที่เป็นตัวกลาง อุปสงค์ ต่อแรงงาน เป็น อุปสงค์ ต่อเนื่อง ‘ derived demand’

hazel
Download Presentation

เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์ แรงงาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน รองศาสตราจารย์ดร. ภาวดี ทองอุไทย กรกฎาคม 2552

  2. เหตุใดหน่วยผลิต (firm)จึงต้องการจ้างแรงงาน? • เพราะมีความต้องการสินค้าบริการจากผู้บริโภค • หน่วยผลิตทำหน้าที่เป็นตัวกลาง • อุปสงค์ต่อแรงงาน เป็น อุปสงค์ต่อเนื่อง ‘derived demand’ • แรงงานต่างจากปัจจัยการผลิตอื่นๆ เพราะ.... • สภาพการทำงาน • สภาพสังคม โอกาสอื่นๆที่อาจเกิดขึ้นระหว่างทำงาน • ลักษณะอื่นๆของหน่วยผลิต เช่น ชื่อเสียง เกียรติยศ

  3. หน่วยผลิตตัดสินใจอย่างไร?หน่วยผลิตตัดสินใจอย่างไร? • ฟังชั่นการผลิตProduction function: • ปัจจัยการผลิต: แรงงานLabour (E)และ ทุนcapital (K) • Q = f (E,K) • สมมติว่าแรงงานเหมือนกันทุกประการhomogeneous • พิจารณาเฉพาะจำนวนคนงาน (ไม่ใช่จำนวนชั่วโมง) • Total product, marginal product, and average product • Marginal product of labour (MPE) • การเปลี่ยนแปลงในผลผลิต อันเกิดจากการจ้างแรงงานเพิ่มหนึ่งคน โดยปัจจัยการผลิตอื่นๆอยู่คงที่

  4. MP ของแรงงานคือ ความชันของเส้น total product • อัตราการเปลี่ยนในผลผลิต เมื่อคนงานถูกจ้างเข้ามาเพิ่มขึ้น • ในระยะแรกผลผลิตจะขยายตัวด้วยอัตราที่เพิ่มขึ้นเพราะ ..... • แต่ในที่สุด ผลผลิตจะขยายตัวในอัตราที่ลดลง เพราะ • กฎการลดน้อยถอยลงของผลผลิต Law of diminishing returns • Average product of labour (AP) • ปริมาณผลผลิตที่คนงานทำได้ • ความสัมพันธ์ระหว่างเส้น • marginal productและ • average product

  5. การแสวงหากำไรสูงสุดProfit maximization • กำไร= PQ – WE – rK • p = ราคาผลผลิต w = อัตราค่าจ้าง r = ราคาของสินค้าทุน • สมมติว่าหน่วยผลิตเป็นส่วนย่อยของอุตสาหกรรมนั้น • ราคาทุกอย่างอยู่นอกเหนือการควบคุม • ‘หน่วยผลิตที่อยู่ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์’ แสวงหากำไรสูงสุดโดย • จ้างแรงงาน และ • สินค้าทุน • ในจำนวนที่เหมาะสม

  6. การตัดสินใจจ้างงานในระยะสั้นการตัดสินใจจ้างงานในระยะสั้น • ระยะสั้นหมายถึง • ไม่สามารถเพิ่ม / ลดขนาดของโรงงานได้ • ไม่สามารถซื้อ/ขายอุปกรณ์เครื่องจักรได้ • สินค้าทุนมีปริมาณคงที่ • หน่วยผลิตจะพิจารณา เส้น MPที่เป็นอยู่

  7. มูลค่าของผลผลิตหน่วยสุดท้ายvalue ofmarginal product (VMP) • มูลค่าตัวเงินของสิ่งที่คนงานหน่วยเพิ่มผลิตได้ • VMPE = p x MPE • Law of diminishing returns • ผลประโยชน์ต่อหน่วยผลิตจากการจ้างแรงงานเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ • แต่ในที่สุด ก็จะลดลง

  8. มูลค่าของผลผลิตเฉลี่ยValue of average product • Monetary value of output per worker • VAPE = p x APE • หน่วยผลิตควรจ้างคนงานจำนวนเท่าไร? • จ้างไปเรื่อยๆ จนถึงจุดที่ • อัตราค่าจ้าง = มูลค่าของผลผลิตหน่วยสุดท้ายของแรงงาน • wage rate = value of marginal product of labour

  9. เส้นอุปสงค์ในระยะสั้นของหน่วยผลิตเส้นอุปสงค์ในระยะสั้นของหน่วยผลิต • เกิดอะไรขึ้นกับการจ้างงานของหน่วยผลิต เมื่อ ค่าจ้างเปลี่ยนไป โดยที่ทุนอยู่คงที่ • เส้นอุปสงค์แรงงาน ขึ้นอยู่กับ มูลค่าของ เส้น marginal product • เมื่อค่าจ้างลดลง หน่วยผลิตจะจ้างคนงานมากขึ้น • สำหรับแต่ละหน่วยผลิต เป็นเพียงรายเล็กๆ ในตลาด ราคาของผลผลิตจึงถูกกำหนดโดยตลาด • หน่วยผลิตไม่สามารถมีอิทธิพลต่อราคาผลผลิตได้

  10. เส้นอุปสงค์แรงงานของอุตสาหกรรม (industry) • อุตสาหกรรม Industryคือ กลุ่มของหน่วยผลิตที่ผลิตสินค้าประเภทเดียวกัน • ถ้าหากทุกหน่วยผลิตจ้างคนงานเพิ่ม เมื่อค่าจ้างลดลง • ผลผลิตรวมของอุตสาหกรรมนั้นก็จะขยายออกไปมาก ราคาผลผลิตลดลง • ถ้าหน่วยผลิตทั้งหมดเพิ่มการจ้างงาน • มูลค่าของผลผลิตหน่วยสุดท้ายก็จะลดลงด้วย เส้นอุปสงค์แรงงานเคลื่อนไปทางซ้ายมือ

More Related