1 / 22

การสัมมนาชี้แจงแนวทางการดำเนิน โครงการส่งเสริมการผลิตพลังงานทดแทน ในระดับชุมชน

การสัมมนาชี้แจงแนวทางการดำเนิน โครงการส่งเสริมการผลิตพลังงานทดแทน ในระดับชุมชน. วัตถุประสงค์ รายละเอียดโครงการ รูปแบบการดำเนินงาน และบทบาทหน้าที่ของผู้ที่เกี่ยวข้อง. โครงการส่งเสริมการผลิตพลังงานทดแทนในระดับชุมชน. รายละเอียดโครงการ วัตถุประสงค์โครงการ รูปแบบการดำเนินงานโครงการ

Download Presentation

การสัมมนาชี้แจงแนวทางการดำเนิน โครงการส่งเสริมการผลิตพลังงานทดแทน ในระดับชุมชน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสัมมนาชี้แจงแนวทางการดำเนินการสัมมนาชี้แจงแนวทางการดำเนิน โครงการส่งเสริมการผลิตพลังงานทดแทน ในระดับชุมชน

  2. วัตถุประสงค์ รายละเอียดโครงการรูปแบบการดำเนินงานและบทบาทหน้าที่ของผู้ที่เกี่ยวข้อง โครงการส่งเสริมการผลิตพลังงานทดแทนในระดับชุมชน

  3. รายละเอียดโครงการ • วัตถุประสงค์โครงการ • รูปแบบการดำเนินงานโครงการ • บทบาทหน้าที่ของผู้ที่เกี่ยวข้อง • เนื้อหา

  4. รายละเอียดโครงการ “โครงการส่งเสริมการผลิตพลังงานทดแทนในระดับชุมชน (Community ESCO Fund)” เป็นหนึ่งในโครงการของ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงพลังงานโดยได้รับเงินสนับสนุนจากกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานตามแผนงานโครงการด้านพลังงานทดแทน

  5. วัตถุประสงค์โครงการ เพื่อสร้างแรงขับเคลื่อนในการสนับสนุน ส่งเสริม และรณรงค์การผลิตและการใช้พลังงานทดแทนอย่างทั่วถึงและครอบคลุมทั่วประเทศ เพื่อให้การกำหนดทิศทางการพัฒนาและส่งเสริมการผลิตและการใช้พลังงานทดแทนเป็นไปอย่างเหมาะสมตามศักยภาพพื้นที่ โครงการผลิตพลังงานทดแทนในชุมชนที่ได้รับการสนันสนุน สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านพลังงานระดับพื้นที่ และสามารถพัฒนาสู่โครงการต้นแบบระดับประเทศได้

  6. วัตถุประสงค์โครงการ เป็นกลไกการสนับสนุนส่งเสริมให้รัฐบาลขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การลงทุนด้านพลังงานของประเทศ เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน โดยเฉพาะการสร้างเครือข่ายและความร่วมมือระดับพื้นที่ เพื่อศึกษากลไกการจัดตั้งกองทุนพลังงานชุมชนที่มีความเหมาะสมสำหรับประเทศไทย

  7. รูปแบบการดำเนินงานโครงการรูปแบบการดำเนินงานโครงการ เป็นการสนับสนุนเงินบางส่วนเพื่อส่งเสริมให้ชุมชนรวมกลุ่มกัน ในการร่วมลงทุนเพื่อผลิตพลังงานทั้งความร้อนและไฟฟ้าจากแหล่งพลังงานหมุนเวียนที่มีอยู่ในชุมชน มีการบริหารจัดการวัตถุดิบและพลังงานที่ผลิตได้เพื่อให้เกิดรายได้ในชุมชน เป้าหมายการดำเนินการไม่น้อยกว่า 25โครงการ ทั่วประเทศ มีกำลังการผลิตพลังงานรวมทั้งโครงการไม่น้อยกว่า 300 kW (ไฟฟ้าหรือเทียบเท่า) เงินสนับสนุนรวม 47 ล้านบาท สำนักงานพลังงานจังหวัดมีบทบาทสำคัญในการร่วมติดตามและประเมินผลการดำเนินงานโครงการภายในจังหวัด

  8. 5. อัตราการสนับสนุน ให้เงินสนับสนุนไม่เกินร้อยละ 70ของมูลค่าโครงการวงเงินสูงสุดไม่เกิน 3 ล้านบาทต่อโครงการ ทั้งนี้ขึ้นอยู่ลักษณะโครงการที่เข้าร่วมและดุลพินิจของคณะทำงานกำกับฯ โดยผู้เข้าร่วมโครงการจะต้องสามารถลงทุนในส่วนที่เหลือได้ เงินสนับสนุนจากกระทรวงพลังงาน วงเงินรวมทั้งหมด เงินลงทุนของชุมชน

  9. โครงการ ก. เงินสนับสนุนจากกระทรวงพลังงาน เงินลงทุนของชุมชน วงเงินรวมทั้งหมด 30 % 100 % 70 % 7 แสนบาท 3 แสนบาท 1 ล้านบาท

  10. โครงการ ข. เงินสนับสนุนจากกระทรวงพลังงาน เงินลงทุนของชุมชน วงเงินรวมทั้งหมด 50 % 100 % 50 % 7ล้านบาท 3.5 ล้านบาท 3.5 ล้านบาท 3 ล้านบาท 4 ล้านบาท

  11. บทบาทหน้าที่ของผู้ที่เกี่ยวข้อง : • คณะทำงานกำกับและกลั่นกรองฯ • สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ • สำนักงานพลังงานจังหวัด • มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

  12. คณะทำงานกำกับและกลั่นกรองโครงการส่งเสริมการผลิตพลังงานทดแทนในระดับชุมชนคณะทำงานกำกับและกลั่นกรองโครงการส่งเสริมการผลิตพลังงานทดแทนในระดับชุมชน • พิจารณาและอนุมัติเกณฑ์ในการคัดเลือกและการให้การสนับสนุนโครงการส่งเสริมการผลิตพลังงานทดแทนในระดับชุมชน • พิจารณากลั่นกรองโครงการ และกำกับทิศทางการพัฒนาการลงทุน เพื่อพิจารณาอนุมัติการส่งเสริมการลงทุนเป็นรายโครงการ • สนับสนุนข้อมูลต่างๆรวมทั้งการประชาสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินโครงการส่งเสริมการผลิตพลังงานทดแทนในระดับชุมชน • พิจารณาให้ความเห็นและคำแนะนำ หรือคำปรึกษา เกี่ยวกับโครงการส่งเสริมการผลิตพลังงานทดแทนในระดับชุมชน

  13. คณะทำงานกำกับและกลั่นกรองโครงการส่งเสริมการผลิตพลังงานทดแทนในระดับชุมชน (ต่อ) • ติดตาม ประเมินผล และตรวจรับการดำเนินโครงการส่งเสริมการผลิตพลังงานทดแทนในระดับชุมชน • ปฏิบัติหน้าที่อื่นๆตามที่ได้รับมอบหมายที่เกี่ยวข้องกับโครงการส่งเสริมการผลิตพลังงานทดแทนในระดับชุมชน

  14. สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ • ประสานงานระหว่างมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สำนักงานพลังงานจังหวัด คณะทำงานกำกับและกลั่นกรองฯ • ร่วมพิจารณาคัดเลือกโครงการที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเพื่อเข้ารับการสนับสนุนโครงการ • ร่วมตรวจรับงานโครงการที่ได้ดำเนินการเสร็จสิ้นแล้ว

  15. สำนักงานพลังงานจังหวัดสำนักงานพลังงานจังหวัด • ประชาสัมพันธ์ ให้ข้อมูลเบื้องต้นแก่ผู้ที่สนใจเข้าร่วมโครงการ • แนะนำเทคโนโลยีที่เหมาะสมให้แก่ผู้ที่สนใจเข้าร่วมโครงการ • ประสานการดำเนินงานระหว่างมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ ผู้เข้าร่วมโครงการ • ติดตามและประเมินโครงการในระหว่างการดำเนินการก่อสร้าง เพื่อให้เป็นไปตามแผนการดำเนินงานที่แต่ละโครงการได้กำหนดไว้ • ร่วมตรวจรับงานโครงการที่ได้ดำเนินการเสร็จสิ้นแล้ว

  16. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ • ประชาสัมพันธ์ ให้ข้อมูลเบื้องต้นแก่ผู้ที่สนใจเข้าร่วมโครงการ • รวบรวมเอกสารการสมัครขอรับเงินสนับสนุนการดำเนินโครงการฯ ดำเนินการตรวจสอบความถูกต้อง พร้อมทั้งพิจารณาคัดกรองโครงการที่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด เป็นรายเดือนๆ ละ 1 ครั้ง • สรุปผลการคัดเลือกโครงการที่ได้รับการพิจารณาให้การสนับสนุนงบประมาณเป็นรายเดือนๆ ละ 1 ครั้ง พร้อมทั้งจัดทำบันทึกข้อตกลงร่วมกันกับผู้เข้าร่วมโครงการฯ • เร่งรัด ติดตาม และประเมินผลระหว่างการดำเนินโครงการที่ได้รับคัดเลือก • ร่วมตรวจรับงานโครงการที่ได้ดำเนินการเสร็จสิ้นแล้ว

  17. รายชื่อตัวแทนที่ปรึกษาจากมหาวิทยาลัยต่างๆรายชื่อตัวแทนที่ปรึกษาจากมหาวิทยาลัยต่างๆ

  18. รายชื่อที่ปรึกษาจากมหาวิทยาลัยต่างๆรายชื่อที่ปรึกษาจากมหาวิทยาลัยต่างๆ รศ.ดร. สุเมธ ไชยประพัทธ์ สถาบันวิจัยระบบพลังงาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โทร 074-286968, 081-5403037โทรสาร 074-286961 E-mail : sumateabc@gmail.com ดร. ชินพงษ์ วังใน สถาบันพัฒนาและฝึกอบรมโรงงานต้นแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี โทร 02-4707522, 086-9900290โทรสาร 02-4523455 E-mail : chinnapongw@gmail.com

  19. รายชื่อที่ปรึกษาจากมหาวิทยาลัยต่างๆรายชื่อที่ปรึกษาจากมหาวิทยาลัยต่างๆ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พงษ์ศิริจรุยนนท์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร โทร 081-4565687 E-mail : airypoly@yahoo.com ผศ. ดร. วีรชัย อาจหาญ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี โทร044-224225, 081-8349347โทรสาร 044-224610 E-mail : arjharh@sut.ac.th

  20. รายชื่อที่ปรึกษาจากมหาวิทยาลัยต่างๆรายชื่อที่ปรึกษาจากมหาวิทยาลัยต่างๆ รศ.ดร. กาญจนา เศรษฐนันท์ สถานจัดการและอนุรักษ์พลังงานคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โทร043-204430,081-5536429 E-mail : ksetthanan@gmail.com ผศ.ดร. ขวัญชัย ไกรทอง ภาควิชาเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร โทร 055-964239, 055-964004, 089-7911690 E-mail : kwanchaik@nu.ac.th

  21. สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ได้ที่ “โครงการส่งเสริมการผลิตพลังงานทดแทนในระดับชุมชน” ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม ชั้น 8 อาคาร 30 ปี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 239 ถ.ห้วยแก้ว ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50200 โทรศัพท์ 053-944904, 084-1775525 โทรสาร 053-217118 http://escofund.ete.eng.cmu.ac.th/www.ete.eng.cmu.ac.th

  22. ขอบคุณค่ะ

More Related