1 / 36

นโยบายกระทรวงสาธารณสุข การพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิตามเกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ

นโยบายกระทรวงสาธารณสุข การพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิตามเกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ ( Primary Care Award : PCA ). ให้หน่วยบริการปฐมภูมิพัฒนาและประเมินรับรองตามมาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชน( HCA ). ตั้งแต่ปี 2545 เป็นต้นมา.

harris
Download Presentation

นโยบายกระทรวงสาธารณสุข การพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิตามเกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นโยบายกระทรวงสาธารณสุขนโยบายกระทรวงสาธารณสุข การพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิตามเกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA) ให้หน่วยบริการปฐมภูมิพัฒนาและประเมินรับรองตามมาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชน(HCA) ตั้งแต่ปี2545เป็นต้นมา เป็นปีแรกของการพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิตามเกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ(PCA) ปี2553 ปี 2554 ถูกกำหนดเป็นตัวชี้วัดสำคัญตามคำรับรองปฏิบัติราชการ ของกระทรวงสาธารณสุข รพ.สต. ทุกแห่ง พัฒนาตามเกณฑ์ PCA และประเมินตนเองในขั้นที่1 ให้แล้วเสร็จ ส่งผลการดำเนินงาน ไปยัง สำนักบริหารการสาธารณสุข ภายในวันที่ 25 กรกฎาคม 2554

  2. ทำความเข้าใจกับ PCA(Primary Care Award) เป็นเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพของงานประจำ หรือช่วยแก้ปัญหางานที่มีอุปสรรคให้มีคุณภาพมากขึ้น PCA คือ อะไร ไม่ใช่ของใหม่ ไม่ใช่เกณฑ์ประเมินตัวใหม่ เป้าหมายของ PCA ไม่ต้องการเพียงว่าองค์กรนั้นผ่านเกณฑ์คุณภาพหรือไม่ แต่ต้องการให้องค์กรนั้นรู้ประเด็นในการพัฒนาเพื่อนำไปสู่บริการที่มีคุณภาพ ตอบความต้องการและความจำเป็นด้านสุขภาพของประชาชน เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้CUPและPCUรู้จักตนเอง เพื่อนำไปสู่การพัฒนา

  3. PCA ต่างจาก HCA เดิมอย่างไร PCA HCA มาตรฐานของ ระบบเครือข่ายบริการปฐมภูมิ ทั้งระบบ ไม่ได้มุ่งเน้นเฉพาะมาตรฐานของหน่วยบริการปฐมภูมิแต่ละหน่วย มาตรฐานของ กระบวนการและงานย่อยด้าน ต่างๆ เช่น มาตรฐานการพยาบาลชุมชน มาตรฐานด้านสุขศึกษา มาตรฐานการป้องกันการติดเชื้อ

  4. ทำไมจึงต้องนำPCAมาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพของบริการสุขภาพทำไมจึงต้องนำPCAมาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพของบริการสุขภาพ เพราะเชื่อว่า ระบบเครือข่ายบริการปฐมภูมิที่ดีจะนำไปสู่บริการสุขภาพที่มีคุณภาพของหน่วยบริการปฐมภูมิ

  5. ระบบเครือข่ายบริการปฐมภูมิที่ดี ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ หมวดP ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย หมวดที่2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ที่ดี หมวดที่5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล หมวดที่1. การนำองค์กรที่ดี หมวดที่7. ผลลัพธ์ การดำเนินงาน หมวดที่6. กระบวนการที่สร้าง คุณค่าให้กับ หน่วยบริการปฐมภูมิ ภายใต้ระบบ สนับสนุนที่ดี หมวดที่3. การให้ความสำคัญ กับประชากร เป้าหมาย ชุมชน และ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมวดที่4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

  6. กระบวนการ PCA

  7. หมวด P ลักษณะสำคัญขององค์กร 1. รู้จักลักษณะสำคัญขององค์กรดังต่อไปนี้ 2. รู้จักความท้าทายที่สำคัญขององค์กร 1.1 ลักษณะพื้นที่ (พันธกิจ, สภาพโดยรวมของทีมสุขภาพ เทคโนโลยี สิ่งอำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงาน) 1.2 ความสัมพันธ์ภายในองค์กรและความสัมพันธ์ขององค์กรกับภาคีเครือข่ายสุขภาพ(ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) 2.1 วิเคราะห์เปรียบเทียบกับองค์กรที่คล้ายคลึงกัน เพื่อปรับปรุงและพัฒนา 2.2 กำหนดความท้าทายเชิงกลยุทธ์ 3 ประเด็น เพื่อให้บรรลุพันธกิจขององค์กร, เพื่อให้เกิดกระบวนการพัฒนาภายใน และ เพื่อให้เกิดการพัฒนาบุคลากรที่มีสมรรถนะที่เหมาะสมตามพันธกิจ 2.3 ระบบหรือแนวทางการปรับปรุงผลการดำเนินงาน โดยรู้จักแนวทางการประเมินผลการดำเนินงาน นำผลการประเมินมาปรับปรุงประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน “สร้างกระบวนการเรียนรู้” เพื่อความต่อเนื่องของการพัฒนาและยกระดับ

  8. หมวด 1 การนำองค์กร เกณฑ์คุณภาพที่ 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม เกณฑ์คุณภาพที่ 1.1 ภาวะผู้นำของผู้บริหารองค์กร

  9. หมวดที่ 2 การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การจัดทำยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ ที่ดี เกณฑ์คุณภาพที่2.1 1.สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจัยภายนอก ปัจจัยภายใน 2. ตอบสนองต่อพันธกิจของหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 3. ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีส่วนร่วมในการจัดทำยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ • เกณฑ์คุณภาพที่ 2.2 • ถ่ายทอดแผนสู่การปฏิบัติ • มีแผนการสนับสนุนทรัพยากรในการดำเนินงานให้เพียงพอ ทันเวลา • สุดท้ายต้องมีการประเมินผลและการคาดการณ์ผลการดำเนินการ

  10. หมวดที่ 3 การให้ความสำคัญกับประชากรเป้าหมาย ชุมชน และ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทำอย่างไรจึงทำให้เครือข่ายบริการปฐมภูมิ และ หน่วยบริการปฐมภูมิสามารถดำเนินงานได้ตอบสนองและสอดคล้องกับความต้องการของประชากรเป้าหมาย ชุมชน และ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

  11. 3.2.1มีการสร้างความสัมพันธ์กับประชากรเป้าหมาย ชุมชน และ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.1.1มีการกำหนด จำแนกประชากรเป้าหมาย และ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเป็นกลุ่มต่างๆ 3.1.2มีการศึกษาความต้องการ ความคาดหวัง และ ความนิยมของประชากรเป้าหมาย ชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.2.1 มีการวัดความพึงพอใจ ของประชากรเป้าหมาย ชุมชน และ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.1.3มีการกำหนดบริการและแนวทางการดำเนินงานให้ตอบสนองและสอดคล้องกับความต้องการของประชากรเป้าหมาย ชุมชน และ ผู้มีส่วนได้เสีย

  12. หมวดที่ 4 การวัด วิเคราะห์ และ การจัดการความรู้ นำมาวางแผนพัฒนาการจัดการและกระบวนการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพ ก่อให้เกิดการปรับปรุงและเพิ่มขีดความสามารถของเครือข่ายและหน่วยบริการปฐมภูมิ เกณฑ์คุณภาพที่4.1 การวัด วิเคราะห์ และ พิจารณาผลการดำเนินงานขององค์กร เกณฑ์คุณภาพที่ 4.2 การจัดการสารสนเทศและการจัดการความรู้

  13. หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล บุคลากร เป็นปัจจัยสำคัญในการนำ หน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายบริการปฐมภูมิ สู่ความเป็นเลิศ ถ้าบุคลากรเป็นอย่างนี้ หน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายบริการปฐมภูมินั้นๆ จะเป็นอย่างไร???

  14. สภาพแวดล้อมในการทำงาน และ บรรยากาศแบบใดที่เอื้อต่อการปฏิบัติงานของบุคลากรซึ่งนำไปสู่ผลการดำเนินงานที่เป็นเลิศ??? หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคล เป็นคำตอบและเป็นเครื่องมือที่จะทำให้หน่วยบริการปฐมภูมิ และ เครือข่ายบริการปฐมภูมิสามารถสร้างและรักษาสภาพแวดล้อมและบรรยากาศในการทำงานที่เอื้อต่อการปฏิบัติงานของบุคลากร

  15. สอดคล้อง กับ พันธกิจ เป้าประสงค์ แผนกลยุทธ์ และแผนปฏิบัติการโดยรวมของ หน่วยบริการปฐมภูมิ และเครือข่าย บริการปฐมภูมิ เกณฑ์คุณภาพที่5.1 ระบบบริหารงานบุคคลก่อให้เกิดการมุ่งเน้นผลสัมฤทธ์ของงานตามภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ เกณฑ์คุณภาพที่ 5.2 การเรียนรู้และการสร้างแรงจูงใจ เกณฑ์คุณภาพที่ 5.3 การสร้างความผาสุกและความพิงพอใจแก่บุคคลากร หน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายบริการปฐมภูมิน่าอยู่ คนทำงานมีความสามารถ ความผาสุก ความพึงพอใจ นำไปสู่ความสำเร็จของหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายบริการปฐมภูมิ

  16. หมวด 6 ด้านระบบบริการ ประกอบด้วย เกณฑ์คุณภาพที่ 6.1กระบวนการให้บริการที่สร้างคุณค่าของระบบบริการปฐมภูมิ เกณฑ์คุณภาพที่ 6.2 กระบวนการสนับสนุนการให้บริการที่สร้างคุณค่าของระบบบริการปฐมภูมิ

  17. = กระบวนการให้บริการที่สร้างคุณค่า เป็นกระบวนการที่ทำให้ผู้รับบริการ และ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เลือกใช้บริการ ด้วยความเต็มใจ ไม่ใช่เพราะจำใจเนื่องจากไม่มีทางเลือกอื่น

  18. ให้บริการแบบนี้ ดูดี มีคุณค่าขึ้นเยอะ

  19. เกณฑ์คุณภาพที่6.1 กระบวนการให้บริการที่สร้างคุณค่าของระบบบริการปฐมภูมิ (อิงจากมิติการบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ) ประกอบด้วย

  20. 6.1.1 การจัดระบบบริการสุขภาพโดยรวมของหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่าย

  21. 6.1.2 การบริการปฐมภูมิระดับบุคคลและครอบครัว แบบผสมผสานเป็นองค์รวม ต่อเนื่อง

  22. 6.1.3 การดูแลสุขภาพของกลุ่มประชากร(Population Based)(ย้อยไปดูหมวด3 ในการจำแนกกลุ่มประชากรในแต่ละพื้นที่ย่อมแตกต่างกัน)

  23. 6.1.4 การสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกับองค์กรชุมชน ประกอบด้วย 1) มีระบบงานและการสื่อสารสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับกลุ่มองค์กรชุมชน 2) จัดการให้มีการสื่อสารข้อมูลสำคัญทางด้านสุขภาพให้แก่กลุ่ม/องค์กรชุมชน 3) มีการจัดการที่เปิดโอกาสให้องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการวางแผน และ การบริหารของหน่วยบริการปฐมภูมิ 4) มีการจัดการ ประสานงาน แสวงหาทรัพยากร และปัจจัยสนับสนุน เพื่อนำมาสู่การเรียนรู้ การเฝ้าระวังสุขภาพ การพัฒนา และ การแก้ปัญหาสุขภาพของชุมชน อย่างมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน

  24. กระบวนการให้บริการที่สร้างคุณค่า (6.1) จะเกิดไม่ได้ถ้าขาดระบบการสนับสนุนที่ดี ใช่หรือไม่ ????

  25. คำตอบ คือ ใช่ ดังนั้นจึงเกิด เกณฑ์คุณภาพที่ 6.2ขึ้น “กระบวนการสนับสนุนการให้บริการที่สร้างคุณค่าของระบบบริการปฐมภูมิ” • สนับสนุนอาคารสถานที่ และพัฒนาสิ่งแวดล้อม • สนับสนุนระบบเฝ้าระวัง ป้องกันการติดเชื้อ และแพร่กระจายเชื้อ (IC) • สนับสนุนระบบการบริหารยา และเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา • สนับสนุนการจัดระบบการบริการด้านชันสูตร • สนับสนุนการจัดหา บำรุงรักษา การซ่อม เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์

  26. หมวดที่ 7 ผลลัพธ์การดำเนินการของเครือข่ายบริการปฐมภูมิ ดูผลลัพธ์ใน 4 มิติ เกณฑ์คุณภาพที่ 7.1 ผลลัพธ์การดำเนินการด้านประสิทธิผล(ผลการดำเนินงานตามนโยบาย • ด้านการดูแลรักษาพยาบาล แบบผสมผสาน และ การฟื้นฟูสภาพ • ด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคตามกลุ่มประชากรเป้าหมาย • ด้านการเสริมการเรียนรู้ขององค์กรชุมชน

  27. ความพึงพอใจ • คุณค่าและความนิยมของประชากรเป้าหมาย เช่น พฤติกรรมความนิยมของประชาชนในการเลือกใช้บริการที่สถานพยาบาลต่างๆ • ผลลัพธ์คุณภาพของกระบวนการให้บริการในหมวด 6.1 • ผลลัพธ์ด้านคุณภาพของกระบวนการสนับสนุนในหมวด 6.2 เกณฑ์คุณภาพที่ 7.2 ผลลัพธ์การดำเนินการด้านคุณภาพของกระบวนการและคุณภาพ(ผลการดำเนินงานจากมุมมองของประชากรเป้าหมายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย)

  28. ผลการปฏิบัติงานตามเกณฑ์คุณภาพของกระบวนการสร้างคุณค่าในหมวด 6.1 เปรียบเทียบกับทรัพยากรที่ใช้ • ผลตามตัวชี้วัดทางด้านงบประมาณ และ การเงิน ความรับผิดชอบทางด้านการเงิน การปฏิบัติตามกฎระเบียบ ข้อบังคับ และ กฎหมาย เกณฑ์คุณภาพที่ 7.3 ผลลัพธ์การดำเนินการด้านประสิทธิภาพของกระบวนการให้บริการ(ประสิทธิภาพการดำเนินงานของCUP และการเงิน เพื่อเปรียบเทียบความคุ้มทุนของทรัพยากร)

  29. ความผาสุก และ ความพึงพอใจของบุคลากร • ผลด้านการเรียนรู้และพัฒนาบุคลากร และ องค์กร รวมทั้งผู้นำ • ผลด้านการมีส่วนร่วมขององค์กร ท้องถิ่น/ชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • ผลด้านพฤติกรรมของบุคลากรที่มีจริยธรรม และ การมีระบบธรรมาภิบาล เกณฑ์คุณภาพที่ 7.4 ผลลัพธ์การดำเนินการด้านการพัฒนาองค์กรเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (เน้นผลลัพธ์จากการพัฒนาบุคลากรและองค์กร)

  30. ระดับการพัฒนาคุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิระดับการพัฒนาคุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ

  31. ระดับการพัฒนาคุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิระดับการพัฒนาคุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ

  32. ระดับการพัฒนาคุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิระดับการพัฒนาคุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ

  33. การดำเนินงาน PCA จังหวัดเลย เป้าหมาย ปี 2554 1. รพ.สต./PCU ร้อยละ 100 พัฒนาขั้น 1 2. รพ.สต./PCU ทุกแห่งมีการประเมินตนเอง หมวด P ,หมวด3 , หมวด6 ข้อ 6.1.1 และ 6.1.2 3. Cup ประเมินตนเอง หมวด P ,หมวด1,หมวด3,หมวด6 ข้อ 6.2

More Related