1 / 37

การกำหนดราคา ผลิตภัณฑ์น้ำมัน (ต่อ)

การกำหนดราคา ผลิตภัณฑ์น้ำมัน (ต่อ). 1. การควบคุมและการลอยตัว ราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมัน. รัฐบาลควบคุมราคาช่วงก่อนปี พ.ศ. 2534 โดยกำหนดทุกองค์ประกอบของราคา : ราคา ณ โรงกลั่น + ภาษีต่างๆ + เงินกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง + ค่าการตลาด. 2.

Download Presentation

การกำหนดราคา ผลิตภัณฑ์น้ำมัน (ต่อ)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การกำหนดราคา ผลิตภัณฑ์น้ำมัน (ต่อ) 1

  2. การควบคุมและการลอยตัวราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันการควบคุมและการลอยตัวราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมัน • รัฐบาลควบคุมราคาช่วงก่อนปี พ.ศ. 2534 โดยกำหนดทุกองค์ประกอบของราคา: ราคา ณ โรงกลั่น + ภาษีต่างๆ + เงินกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง + ค่าการตลาด 2

  3. การควบคุมและการลอยตัวราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันการควบคุมและการลอยตัวราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมัน รัฐบาลกำหนดทุกองค์ประกอบของราคา ราคา ณ โรงกลั่น: อิงราคาโรงกลั่นสิงคโปร์ + ค่าขนส่ง (import parity) ภาษีต่างๆ: สรรพสามิต เทศบาล การค้า (ยังไม่มี VAT) 3

  4. การควบคุมและการลอยตัวราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันการควบคุมและการลอยตัวราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมัน รัฐบาลกำหนดทุกองค์ประกอบของราคา ค่าการตลาด: กำหนดตามค่าใช้จ่าย + กำไร (เปลี่ยนน้อยและไม่บ่อย) ราคาขายปลีก: ราคาสูงสุดตามกฎหมาย 4

  5. การควบคุมและการลอยตัวราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันการควบคุมและการลอยตัวราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมัน รัฐบาลกำหนดทุกองค์ประกอบของราคา กองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง: กลไกในการกด ราคาขายปลีก เมื่อราคาโลกสูงขึ้น รัฐจ่ายเงินจากกองทุนฯ ให้ บริษัทน้ำมัน 5

  6. การควบคุมและการลอยตัวราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันการควบคุมและการลอยตัวราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมัน รัฐบาลกำหนดทุกองค์ประกอบของราคา ดังนั้น ราคาขายปลีก = ราคา ณ โรงกลั่น + ภาษี + ค่าการตลาด +กองทุนน้ำมันฯ 6

  7. การควบคุมและการลอยตัวราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันการควบคุมและการลอยตัวราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมัน • ข้อดีของการควบคุมราคา • ผู้ใช้น้ำมัน ราคาต่ำและไม่ผันผวน • โรงกลั่นและบริษัทน้ำมัน กำไรต่ำ แต่แน่นอน ลดความเสี่ยงด้านตลาด 7

  8. การควบคุมและการลอยตัวราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันการควบคุมและการลอยตัวราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมัน • ข้อเสียของการควบคุมราคา • แรงการเมือง ทำให้รัฐบาลกดราคา • ภาระการคลัง: ขาดดุล และหนี้ • ไม่ส่งเสริมให้ประหยัด • ใช้ดีเซล และก๊าซหุงต้มมากเกินไป 8

  9. การควบคุมและการลอยตัวราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันการควบคุมและการลอยตัวราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมัน • ข้อเสียของการควบคุมราคา • ไม่ส่งเสริมการแข่งขัน (ด้านราคา) ในตลาดในประเทศ • ไม่ส่งเสริมการขยายปั๊มไปในชนบท ซึ่งต้องอาศัยปั๊มหลอด (ราคาแพง และขาดแคลน) 9

  10. การควบคุมและการลอยตัวราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันการควบคุมและการลอยตัวราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมัน • จึงมีแผนยกเลิกการควบคุม แต่ก็ห่วงว่า • ผู้ใช้อาจถูกเอาเปรียบด้านราคา • ราคาผันผวนมาก • ชนบทไม่มีน้ำมันขาย 10

  11. การควบคุมและการลอยตัวราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันการควบคุมและการลอยตัวราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมัน • ยกเลิกการควบคุมเป็นขั้นตอน • เพิ่มการแข่งขัน: ให้มีบริษัทน้ำมันมากขึ้น ยกเลิกควบคุมนำเข้า ขยาย/เพิ่มโรงกลั่น ให้สร้างปั๊มเล็ก • กำหนดสูตรชัดเจนสำหรับราคา ณ โรงกลั่น โดยอิงกับราคาสิงคโปร์ + ค่าขนส่ง และเปลี่ยนทุกสัปดาห์ 11

  12. ทำไมราคา ณ โรงกลั่นต้องอ้างอิงราคาสิงคโปร์ • ต้องแข่งขันกับราคานำเข้า : ตลาดสิงคโปร์ใกล้ที่สุดสะท้อน • ราคานำเข้าต่ำที่สุด • ราคาในตลาดสิงคโปร์เหมาะสม เนื่องจาก • เคลื่อนไหวตามทิศทางเดียวกับตลาดในภูมิภาคอื่นๆ ของโลกแต่มีความผันผวนน้อยกว่า • เป็นศูนย์การกลั่นน้ำมันและศูนย์กลางการซื้อขาย (ส่งออก/นำเข้า) ของภูมิภาคจึงเป็นราคากลางของตลาดเอเชีย

  13. ทำไมราคา ณ โรงกลั่นต้องอ้างอิงราคาสิงคโปร์ • สิงคโปร์มีปริมาณซื้อขายในระดับสูงเช่นเดียวกับตลาดในภูมิภาคอื่นๆ และมีผู้ซื้อ/ขายมากราย • ดังนั้นราคาสิงคโปร์จึงสะท้อนอุปสงค์และอุปทานน้ำมันที่แท้จริงของภูมิภาค ที่ไม่มีผู้ค้ารายใดสามารถครอบงำได้

  14. ทำไมราคา ณ โรงกลั่นต้องอ้างอิงราคาสิงคโปร์ • ทางเลือก: กำหนดราคาตามต้นทุนจริง (cost plus basis) • ยาก เพราะโรงกลั่นมีต้นทุนไม่เท่ากัน • อาจสูงกว่าราคาสิงคโปร์ เพราะประสิทธิภาพและการแข่งขัน

  15. การควบคุมและการลอยตัวราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันการควบคุมและการลอยตัวราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมัน BAHT/LITRE 2527 2540 TAX & RETAIL TAX & RETAIL OIL FUND PRICE OIL FUND PRICE PREMIUM GASOLINE 2.7898 11.70 3.4449 9.95 REGULAR GASOLINE 2.4410 10.80 3.4155 9.50 HIGH SPEED DIESEL 0.7431 6.70 2.9634 8.81 LPG (BAHT/Kg) -0.2684 10.74 1.9636 9.72 ปรับอัตราภาษีสรรพสามิต เบนซิน/ดีเซล/LPG 15

  16. การควบคุมและการลอยตัวราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันการควบคุมและการลอยตัวราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมัน ช่วงแรก (พ.ค. 34) รัฐบาลยังกำหนดราคา ณ โรงกลั่น และราคาขายส่ง โดยปรับทุกสัปดาห์ ยอมให้บริษัทน้ำมันปรับราคาขายปลีกเอง แต่ต้องแจ้งทุกครั้ง 16

  17. การควบคุมและการลอยตัวราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันการควบคุมและการลอยตัวราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมัน ช่วงต่อมา (ส.ค. 34) รัฐบาลยกเลิกการกำหนดราคา ณ โรงกลั่น และราคาขายส่ง และโรงกลั่นกำหนดเองโดยอิงราคาสิงคโปร์ รัฐบาลช่วยโรงกลั่นโดยภาษีพิเศษผลิตภัณฑ์นำเข้า และปริมาณสำรอง 17

  18. การควบคุมและการลอยตัวราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันการควบคุมและการลอยตัวราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมัน ราชการกำหนดค่าขนส่งไปต่างจังหวัด และติดตาม “ค่าการตลาด” 18

  19. การควบคุมและการลอยตัวราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันการควบคุมและการลอยตัวราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมัน • ประเมินผลการลอยตัวราคา (2534 – 2546) • เพิ่มการแข่งขันในตลาด โดย • กลไกราคา • เพิ่มจำนวนบริษัทน้ำมันและปั๊ม • เพิ่มกำลังกลั่นในประเทศ 19

  20. จำนวนสถานีบริการ NUMBER OF SERVICE STATIONS

  21. สถานีบริการมีทั่วถึงมากขึ้นสถานีบริการมีทั่วถึงมากขึ้น NOTE : 1993 WAS ROYAL DECREE ANNOUNCING THE ESTABLISHING NEW PROVINCES, RESULTING IN A LARGER NUMBER OF DISTRICTS

  22. MARKET SHARES NUMBER OF GAS STATIONS COMPANY 2002 1991 1994 1997 1991 1994 1997 2002 1. PTT 2. SHELL 3. ESSO 4. CALTEX 5. BCP 6.-29. OTHERS 34% 22% 23% 11% 3% 8% 36% 19% 19% 9% 4% 12% 36% 15% 16% 9% 6% 18% 30% 15% 13% 9% 8% 25% 967 896 711 513 23 375 1,290 991 811 589 659 1,425 1,498 1,040 871 598 1,187 7,014 1,414 690 682 514 1,073 12,333 TOTAL 100% 100% 100% 100% 3,475 5,765 12,208 16,706 ผู้บริโภคมีทางเลือกมากขึ้น

  23. ราคาขายปลีกเปลี่ยนแปลงบ่อยขึ้นตามราคาโลกราคาขายปลีกเปลี่ยนแปลงบ่อยขึ้นตามราคาโลก

  24. ราคาขายปลีกเปลี่ยนแปลงบ่อยขึ้นตามราคาโลกราคาขายปลีกเปลี่ยนแปลงบ่อยขึ้นตามราคาโลก

  25. ค่าการตลาดเพิ่มขึ้นในช่วงแรก และเปลี่ยนแปลงตามภาวะตลาด

  26. ค่าการกลั่นผันผวนและลดลงช่วงวิกฤตเศรษฐกิจค่าการกลั่นผันผวนและลดลงช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ แต่ฟื้นตัวในเวลาต่อมา

  27. การควบคุมและการลอยตัวราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันการควบคุมและการลอยตัวราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมัน ตั้งแต่ มกราคม 2547 ราคาน้ำมันโลกสูงต่อเนื่อง รัฐบาลทักษิณตรึงราคาขายปลีก โดยชดเชยจากกองทุนน้ำมันฯ ถึง กรกฎาคม 2548 รวมเป็นหนี้กว่า 90,000 ล้านบาท รัฐบาลสุรยุทธ์ต้องเก็บเงินเข้ากองทุนฯ และล้างหนี้ได้หมดในต้นปี 2551 ทำให้ราคาแพงใกล้เคียงตลาดโลก 28

  28. การควบคุมและการลอยตัวราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันการควบคุมและการลอยตัวราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมัน ในช่วงน้ำมันราคาแพง (2547 เป็นต้นมา) ปตท. ร่วมมือกับรัฐบาลในการตรึงราคาโดยลดค่าการตลาด ทำให้บริษัทอื่นๆ ขาดทุน เลิกกิจการไปหลายราย ข้อกล่าวหา: ราคาแพงเพราะราคาโรงกลั่นสูงเกินไป เสนอให้อิง ราคาสิงคโปร์ ลบ ค่าขนส่ง (export parity) 29

  29. ค่าการกลั่นขึ้นลงเป็นวัฏจักรค่าการกลั่นขึ้นลงเป็นวัฏจักร $/บาเรล $/bbl ปี 2534-2550 ค่าการกลั่นเฉลี่ย 4.4 เหรียญสหรัฐฯ/บาร์เรล (0.95 บาท/ลิตร) หมายเหตุ : ค่าการกลั่นเฉลี่ยของโรงกลั่นในประเทศไทย ที่มา : สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน • ในช่วงปี 2540-2546 เป็นวัฏจักรขาลงจากกำลังการกลั่นที่เพิ่มสูงขึ้นมากกว่า • ความต้องการ • ปัจจุบันเป็นวัฏจักรขาขึ้นเนื่องจากความต้องการเพิ่มสูงขึ้น (แต่หลายโรงกลั่นยังมีขาดทุนสะสมอยู่)

  30. ราคาขายปลีกน้ำมันของไทยถูกกว่าหลายประเทศราคาขายปลีกน้ำมันของไทยถูกกว่าหลายประเทศ บาท/ลิตร $/bbl เบนซิน บาท/ลิตร $/bbl ดีเซล

  31. การควบคุมและการลอยตัวราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันการควบคุมและการลอยตัวราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมัน ก๊าซหุงต้ม: ไม่เคยมีราคาลอยตัวเลย รัฐบาลอุดหนุนราคาเพราะเป็นต้นทุนอาหาร ก่อน พ.ค. 2551 ผลิตเหลือส่งออก ในอดีต รัฐบาลกำหนดราคา ณ โรงกลั่น โดยอิงราคานำเข้า และชดเชยราคาจากกองทุน 32

  32. การควบคุมและการลอยตัวราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันการควบคุมและการลอยตัวราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมัน ก๊าซหุงต้ม: เมื่อราคาโลกสูงขึ้น รัฐตรึงราคา ณ โรงกลั่น (และราคาขายปลีก) และชดเชยโดยอนุญาตให้ส่งออกในราคาสูง การกดราคา (เทียบกับโลกและเบนซิน) จูงใจให้ใช้ในรถยนต์มาก จนผลิตในประเทศไม่พอ ต้องนำเข้าตั้งแต่ พ.ค. 2551 33

  33. ความต้องการก๊าซหุงต้มเพิ่มขึ้นอย่างมากความต้องการก๊าซหุงต้มเพิ่มขึ้นอย่างมาก จากราคาที่ต่ำกว่าเชื้อเพลิงอื่น Kton อัตราการใช้เพิ่มขึ้นอย่างมาก ทำให้จากผู้ส่งออกเป็นผู้นำเข้า 4,493 16% Total Supply CAGR 2005-2007 ~15% 16% 2,107 2,764 Auto CAGR 2000-2004 5.4% 8% Industry 9% 16% 15% 8% 46% 15% Household 56% 55% 63% Petchem Feedstocks 22% 21% 20% 14% • คาดว่าปี 2008 ปริมาณนำเข้า LPG ไม่ต่ำกว่า 300 พันตัน

  34. ประมาณการการนำเข้า LPG 2551 2552 Unit : KTON PTTPE operate GSP 5 Reduce feed gas GSP 2 S/D GSP 5 T/D GSP 5 T/D GSP 4 S/D GSP 1 S/D PTTCH Debott II GSP 3 S/D PDH Transportation GSP +Refinery+Petchem Industry GSP Supply Household Petrochem 2551 2552 • Domestic Demand Growth 14%: • Household 9.5% • Industry 17.8% • Transportation 24.7% • Domestic Demand Growth 9.6%: • Household 8.5% • Industry 10.5% • Transportation 11.7% Export/(Import) Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec (56) 8.9 6.3 0.002 (22) 2 (16.2) (41.1) (46.2) (41.5) (77.7) (62.5) (54.6) (28.1) (48.8) (51.8) (104.1) (72.6) (74.3) (90.7) (83.5) (92.8) (156.7) (161.2) ปริมาณนำเข้า 2551 ~345 KTon ปริมาณนำเข้า 2552 ~1,021 KTon 35

  35. การควบคุมและการลอยตัวราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันการควบคุมและการลอยตัวราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมัน ก๊าซหุงต้ม เคยมีระบบ “สองราคา”: สำหรับหุงต้ม และสำหรับรถยนต์ แต่มีปัญหาลักลอบถ่ายโอนซึ่งอันตราย มีแผนลอยตัวราคาเป็นขั้นตอน แต่ยังไม่เริ่ม จึงทำให้ผู้ใช้ LPG จ่ายราคาต่ำกว่าราคาโลกมาก บางส่วนถูกลักลอบออกขายในประเทศเพื่อนบ้าน 36

  36. ราคา LPG ถูกควบคุมต่ำกว่าราคาตลาดโลก และต่ำกว่าประเทศอื่นๆ ในภูมิภาค LPG (CP) /ราคา ณ โรงกลั่น US$/Ton ราคาขายปลีก LPG (บาท/กก.) 18.13 ราคาขายปลีก LPG, บาท/กก. 851 ณ วันที่ 27 ก.พ. 51 หน่วย : บาท/กก. LPG CP New Ex-Ref 332 + Export Surcharge ลาว กัมพูชา เวียดนาม ฟิลิปปินส์ ราคา ณ โรงกลั่น ควบคุมโดยรัฐ มาเลเซีย ไทย CP-16 เพดาน 315 US$/Ton หมายเหตุ : ราคาขายปลีก = 18.13 บาท/กก. (มี.ค.-ก.ค. 51)

More Related