1 / 13

ส่งเสริมสุขภาพ

ส่งเสริมสุขภาพ. Health Promotion. ทิพาพร เสถียรศักดิ์พงศ์. " การส่งเสริมสุขภาพ " หรือ "HEALTH PROMOTION" หมายถึง.

hall
Download Presentation

ส่งเสริมสุขภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ส่งเสริมสุขภาพ Health Promotion ทิพาพร เสถียรศักดิ์พงศ์

  2. "การส่งเสริมสุขภาพ"หรือ"HEALTH PROMOTION"หมายถึง "ขบวนการส่งเสริมให้ประชาชน เพิ่มสมรรถนะในการควบคุม และปรับปรุงสุขภาพของตนเอง ในการบรรลุซึ่งสุขภาวะอันสมบูรณ์ ทั้งทางร่างกาย จิตใจ และสังคม" บุคคล และกลุ่มบุคคลจะต้องสามารถบ่งบอก และตระหนักถึงความมุ่งมาดปรารถนาของตนเอง สามารถตอบสนองต่อปัญหาของตนเอง และสามารถเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม หรือปรับตนให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม หรือปรับตนให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมได้ อีกทั้งยังสามารถควบคุมปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อสุขภาพ เช่น ลดปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดมะเร็ง การขาดการออกกำลังกาย การขาดจิตสำนึกในเรื่องของความปลอดภัย ทำให้เกิดอุบัติเหตุ หลีกเลี่ยงจากสิ่งแวดล้อมเป็นพิษที่เป็นสาเหตุที่ทำลายสุขภาพ ขณะเดียวกันก็ให้ความสำคัญ หรือเน้นให้การเพิ่มในด้านปัจจัยส่งเสริมสุขภาพ เช่น การออกกำลังกายมากขึ้น รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี • ประกาศกฎบัตรออตตาวาที่ประเทศแคนนาดา ปี 1986 • http://hp.anamai.moph.go.th/soongwai/statics/about/soongwai/topic002.php

  3. กฎบัตรออตตาวาเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ(Ottawa Charter for Health Promotion) • การสร้างนโยบายสาธารณสุขเพื่อสุขภาพ(Build healthy publicPolicy) • การสร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ(Create supportive environment) • การเสริมสร้างกิจกรรมชุมชนให้เข้มแข็ง(Strengthen community action) • การพัฒนาทักษะส่วนบุคคล(Develop personal skills) • การปรับเปลี่ยนระบบบริการสุขภาพ(Reorient health services) • (พิศมัยจันทรวิมล, 2541 : 3 ) http://www.swu.ac.th/royal/book6/b6c3t1.html

  4. การสร้างเสริมสุขภาพ • คือ กระบวนการเกื้อหนุนและสนับสนุนส่งเสริมให้บุคคลและกลุ่มคนมีความสามารถในการควบคุมดูแลสุขภาพของตัวเองและพัฒนาสุขภาพของตัวเอง จะเห็นได้ว่าการสร้างเสริมสุขภาพที่จะได้ผลดี บุคคลและกลุ่มคนต้องเป็นผู้กระทำเอง ไม่ใช่รอหรือหวังพึ่งบริการจากแพทย์และบุคลากรสาธารณสุขเท่านั้น • การเปลี่ยนแปลงที่ดีนั้นเกิดขึ้นจากตัวเอง เรียกว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงจากภายใน (inside out) หากหวังแต่การเปลี่ยนแปลงโดยพึ่งหยูกยาและความช่วยเหลือจากภายนอกหรือจากบุคคลอื่นก็จะเป็นการเปลี่ยนแปลงจากภายนอก (out-side in) ซึ่งจะไม่ยั่งยืน เมื่อความช่วยเหลือ คำแนะนำหรือหยูกยาหมดไป สุขภาพของเขาก็จะกลับมาแย่เดือนเดิมหรืออาจจะแย่กว่าเดิมด้วยซ้ำ • http://www.thaihealth.or.th/forum/105/5840

  5. โอดอนเนลล์(O’ Donnell) ได้ให้ความหมายไว้ว่าการส่งเสริมสุขภาพ หมายถึงวิทยาศาสตร์และศิลปะในการช่วยให้ประชาชนเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตไปสู่สภาวะ (Edelman and Mandle. 1994 : 16; citing O’ Donnell. 1987. Definition of Health Promotion) • ครูเตอร์และดีวอร์ (Kreuter and Devore) ได้ให้ความหมายไว้ว่าการส่งเสริมสุขภาพหมายถึงกระบวนการสนับสนุนด้านสุขภาพโดยให้บุคคลครอบครัวชุมชนภาคเอกชนและภาครัฐร่วมมือปฏิบัติเพื่อการมีสุขภาพที่ดี(Edelman and Mandle. 1994 : 16; citing Kreuter and Devore. 1980. Reinforcing of the Health Promotion.) • สุรเกียรติอาชานานุภาพ (2541 : 10) ได้ให้ความหมายไว้ว่าการส่งเสริมสุขภาพหมายถึง กระบวนการส่งเสริมให้ประชาชนเพิ่มสมรรถนะในการควบคุมและพัฒนาสุขภาพของตนเอง • http://www.swu.ac.th/royal/book6/b6c3t1.html1/2/2011

  6. องค์การอนามัยโลก(1986)ได้ให้ความหมายไว้ว่าหมายถึง กระบวนการที่ประชาชนสามารถเพิ่มความสามารถในการควบคุมและปรับปรุงสุขภาพให้บรรลุถึงความสมบูรณ์ จิตใจสังคมกลุ่มชุมชนและบุคคลต้องเข้าใจรู้ปัญหาความอยากได้ความต้องการและการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมของสังคมและธรรมชาติ • เพนเดอร์(Pender 1987 : 4,57)กล่าวว่าการส่งเสริมสุขภาพประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆที่มีผลโดยตรงต่อการเพิ่มระดับความสมบูรณ์และการบรรลุเป้าหมายในชีวิตของบุคคลครอบครัวชุมชนและสังคม • Green และKreuter (1991)ได้ให้ความหมายไว้ว่าหมายถึงผลรวมของการสนับสนุนทางด้านการศึกษา(Educational supports) และการสนับสนุนด้านสิ่งแวดล้อม(Environmental supports) เพื่อให้เกิดผลทางการกระทำ/ปฎิบัติ(action) และสภาพการณ์(conditions) ของการดำรงชีวิตที่จะก่อให้เกิดสภาวะสุขภาพที่สมบูรณ์ • http://www.thaihed.com/html/show.php?SID=115

  7. กฎบัตรออตตาวาว่าด้วย การส่งเสริมสุขภาพ • เพิ่มความสามารถของชุมชน สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ • พัฒนา • ทักษะ • ส่วนบุคคล • กลยุทธ์การสร้างสุขภาพ • Enable • Mediate • Advocate ปรับระบบบริการสุขภาพ สร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ

  8. Build capacity Partner • Global • Government • Community • Corporate Advocate Invest Regulate & legislate Bangkok Charter www.med.cmu.ac.th/home/file/extra/uhosnet/.../by-Chatree.ppt

  9. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ แบบเครือข่าย • บนหลักการ • ประกันคุณภาพ • ประกันราคา • เข้าถึงบริการ • บริการระดับสูง ต้อง • คุ้มค่าการลงทุน • ความเชี่ยวชาญเฉพาะ • เป็นเครือข่ายบริการ 2 ล้านคน Ex. Cent. 1 ล้านคน ตติยภูมิ 2 แสนคน ทุติยภูมิ ระดับ 3 8 หมื่นคน ทุติยภูมิ ระดับ 2 3-5 หมื่นคน ทุติยภูมิ ระดับ 1 ปฐมภูมิ 1 หมื่นคน บริการระดับต้น ประชาชน-ท้องถิ่น ดำเนินการได้ ท้องถิ่น ชุมชน ครอบครัว ตนเอง แพทย์ระดับปฐมภูมิและทุติยภูมิ ระดับต้น 1: 10,000 GP:SP = 40:60

  10. หลักในการสร้างเสริมสุขภาพหลักในการสร้างเสริมสุขภาพ 1.สัมมาทิฐิ ต้องมีทัศนคติที่ถูกต้องในการสร้างเสริมจะต้องทำเอง ไม่มีขาย ไม่มีให้ขอสุขภาพของเราจะต้องทำเอง มีเงินก็ซื้อไม่ได้ ถ้าท่านคิดว่าสุขภาพหมอทำให้ท่านคิดผิดท่านก็ไม่สำเร็ 2. สุขภาพเป็นขบวนการที่ต่อเนื่อง คือเมื่อเราเกิดอยู่ในท้องพ่อท้องแม่ อยู่ในมดลูกของแม่ในขณะที่อยู่ในมดลูกถ้าแม่แข็งแรงลูกก็แข็งแรง ถ้าลูกแข็งแรงคลอดออกมาเป็นเด็กก็แข็งแรง ถ้าเด็กแข็งแรงเป็นผู้ใหญ่ก็แข็งแรง ถ้าเป็นผู้ใหญ่แข็งแรงเป็นผู้อายุก็แข็งแรง สุดท้ายชีวิดมีเกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็นธรรมดา ไม่มีใครที่จะไม่ตาย 3. อาหาร น้ำหนักตัวที่เหมาะสม (วัดส่วนสูงเป็น ซ.ม.) = อาหารที่เหมาะสม ส่วนสูง ชาย ลบ 150 = น้ำหนักที่เหมาะสม +- 2 หญิง ลบ 110 = น้ำหนักที่เหมาะสม +- 2

  11. หลักในการสร้างเสริมสุขภาพหลักในการสร้างเสริมสุขภาพ 4. การออกกำลังกาย ฝึกให้แข็งแรง อดทน ยึดหยุ่น ว่องไว ทรงตัวดีขึ้น5.สร้างสุขภาพจิต 5.1 มีมิตรสหาย ทุกคนต้องมีมิตร 5.2 ต้องรู้จักแก้ไขอุปสรรค ไม่มีใครไม่มีปัญหา อย่าหนีอุปสรรค 5.3 รู้จักพอ พอทุกอย่าง 5.4 เยินยอตน เกิดมาเป็นคนจะต้องรู้จักเยินยอตนเอง ต้องรู้จักภาคภูมิใจในตนเอง 5.5 ต้องปรับตัว คนที่สุขภาพจิตไม่ดีก็คือ คนที่ปรับตัวไม่ได้ โดยเฉพาะข้าราชการ ปัจจุบันเปลี่ยนแปลงค่อนข้างเร็ว แต่ก่อนนี้ราชการจะเปลี่ยนแปลงอะไรต้องบัวไม่ซ้ำน้ำไม่ขุ่น เดี๋ยวนี้ไม่ใช่ เปลี่ยนแปลงค่อนข้างมาก ท่านจะต้องปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมใหม่นี้ให้ได้6.อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี สิ่งแวดล้อมประกอบด้วย ครอบครัว สิ่งที่มีชีวิต สิ่งที่ไม่มีชีวิต ลม ฟ้า ฝน แต่โดยทั่วไปต้องเริ่มที่ในครอบครัว ถ้าใครยิ่งมีอายุมากเท่าไหร่ ก็ยิ่งจะต้องอยู่ในครอบครัวมากขึ้นเท่านั้น

  12. การจะทำให้มีสุขภาพดีต้องพิจารณาจากองค์ประกอบ 5 ประการ1. การกิน หากกินผิดนอกจากจะแก่เร็วแล้ว ยังทำให้ป่วยด้วยอาหารที่ทำลายสุขภาพมากที่สุดคือ เนื่อ นม ไข่ 2.การนอน3.การทำงาน ผมไปจัดคอร์สสุขภาพที่สวนสามพาน 4.การผักผ่อน ตอนนี้จะแนะนำให้รู้ก่อนว่า กิน นอน ทำงาน ถ้าทำผิดสุขภาพจะไม่ดีอายุสั้น5.การออกกำลังกาย

  13. ขอบคุณค่ะ

More Related