1 / 36

บทเรียนที่ 4 สมุดรายวันขั้นต้น

บทเรียนที่ 4 สมุดรายวันขั้นต้น. หัวข้อที่ศึกษา. ความสำคัญและประเภทของสมุดรายวันขั้นต้น หลักการพิจารณาการใช้และออกแบบสมุดรายวันขั้นต้น สมุดรายวันเฉพาะ. สมุดรายวันขั้นต้น (Books of original entry).

Download Presentation

บทเรียนที่ 4 สมุดรายวันขั้นต้น

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทเรียนที่ 4สมุดรายวันขั้นต้น

  2. หัวข้อที่ศึกษา • ความสำคัญและประเภทของสมุดรายวันขั้นต้น • หลักการพิจารณาการใช้และออกแบบสมุดรายวันขั้นต้น • สมุดรายวันเฉพาะ

  3. สมุดรายวันขั้นต้น (Books of original entry) • เป็นสมุดบันทึกรายการค้าที่เกิดขึ้นเป็นลำดับแรก โดยบันทึกรายการเรียงลำดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นก่อนหลัง โดยมีคำอธิบายกำกับแต่ละรายการแบบย่อ ๆ ก่อนที่จะผ่านไปยังบัญชีแยกประเภทที่เกี่ยวข้อง

  4. กระบวนการบันทึกบัญชี

  5. ข้อพิจารณาในการใช้สมุดรายวันข้อพิจารณาในการใช้สมุดรายวัน • กิจการมีรายการต่าง ๆ เกิดขึ้นเป็นจำนวนมากหรือน้อย • แบ่งบันทึกรายการลักษณะเดียวกันไว้ในเล่มเดียวกัน • จำนวนช่องกำหนดจากรายการที่เกิดขึ้นบ่อย • ชื่อช่องจำนวนเงินเป็นชื่อเดียวกันชื่อบัญชี • กำหนดหน้าที่ในการลงบัญชี

  6. ประเภทของสมุดรายวันขั้นต้นประเภทของสมุดรายวันขั้นต้น 1. สมุดรายวันทั่วไป (General Journal) 2. สมุดรายวันเฉพาะ ได้แก่ • สมุดเงินสดรับ/สมุดรายวันรับเงิน (Cash Receipts Journal) • สมุดเงินสดจ่าย/สมุดรายวันจ่ายเงิน (Cash Payment Journal) • สมุดรายวันซื้อ (Purchase Journal) • สมุดรายวันขาย (Sales Journal) • สมุดรายวันรับคืนและส่วนลด (Sale Returns and Allowances Journal) • สมุดรายวันส่งคืนและส่วนลด (Purchase Returns and Allowances Journal)

  7. สมุดรายวันทั่วไป (General Journal) • เป็นสมุดรายวันขั้นต้นที่มีไว้สำหรับบันทึกรายการค้าที่เกิดขึ้นทุกรายการไว้เป็นหลักฐาน เรียงตามลำดับระยะเวลาก่อนหลังแสดงรายการทั้งด้านเดบิตและเครดิตของบัญชีที่เกี่ยวข้อง • แต่ถ้ารายการค้าถูกบันทึกสมุดรายวันเฉพาะเล่มอื่นแล้ว สมุดรายวันทั่วไปก็จะใช้บันทึกรายการที่ไม่สามารถบันทึกในสมุดรายวันเฉพาะเล่มอื่น ๆ เช่น รายการปรับปรุง รายการปิดบัญชี เป็นต้น ในสมุดรายวันทั่วไปจะต้องมีคำอธิบายย่อ ประกอบรายการนั้น

  8. ตัวอย่างรูปแบบสมุดรายวันทั่วไปตัวอย่างรูปแบบสมุดรายวันทั่วไป

  9. ประโยชน์ของสมุดรายวันเฉพาะประโยชน์ของสมุดรายวันเฉพาะ • เพื่อรวบรวมรายการลักษณะเดียวกันไว้ด้วยกัน ลดงานการผ่านบัญชีย่อย เพราะสามารถรวบยอดทุดสิ้นเดือนผ่านบัญชีครั้งเดียวได้ • สามารถแยกประเภทรายการที่บันทึกได้ตามความเหมาะสม • แบ่งงานให้พนักงานหลาย ๆ คนลงบัญชีรายวันเบื้อต้น • ทำให้เกิดการแยกหน้าที่ความรับผิดชอบ เกิดการควบคุมภายใน

  10. หลักกฎหมาย ประกาศของกรมทะเบียนการค้า เรื่อง ข้อความและรายการที่ต้องมีในบัญชี ระยะเวลาที่ต้องลงรายการในบัญชีและเอกสารที่ต้องใช้ประกอบการลงบัญชี พ.ศ. 2544 อาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติ การบัญชี พ.ศ. 2543 “กำหนดบัญชีที่ต้องจัดทำ”

  11. บัญชีที่ต้องจัดทำ • บัญชีรายวัน • บัญชีเงินสด • บัญชีธนาคาร แยกเป็นแต่ละเลขที่บัญชีธนาคาร • บัญชีรายวันซื้อ • บัญชีรายวันขาย • บัญชีรายวันทั่วไป

  12. บัญชีที่ต้องจัดทำ • บัญชีแยกประเภท • บัญชีแยกประเภทสินทรัพย์ หนี้สินและทุน • บัญชีแยกประเภทรายได้และค่าใช้จ่าย • บัญชีแยกประเภทลูกหนี้ • บัญชีแยกประเภทเจ้าหนี้

  13. บัญชีที่ต้องจัดทำ • บัญชีสินค้า • บัญชีรายวัน บัญชีแยกประเภทอื่น และบัญชีแยกประเภทย่อยตามความจำเป็นแก่การทำบัญชีของธุรกิจ

  14. การออกแบบสมุดรายวันขั้นต้นการออกแบบสมุดรายวันขั้นต้น • จะต้องมีชื่อสมุดบัญชีที่สั้นแต่เข้าใจว่าควรนำรายการค้าประเภทใด มาบันทึก • วันที่ เดือน ปี ที่เกิดรายการ • ช่องอธิบายรายการ ซึ่งแสดงถึงรายละเอียดของรายการที่นำมาบันทึกหรือชื่อบุคคล • ช่องเลขที่เอกสารอ้างอิง • ช่องจำนวนเงินรวมที่เป็นเงินตราไทย

  15. การออกแบบสมุดรายวันขั้นต้น (ต่อ) • ช่องรายการเฉพาะที่ใช้บันทึกรายการที่เกิดขึ้นบ่อยครั้ง • หน้าบัญชี • ช่องเดบิต บัญชี…….. ช่องเครดิต บัญชี………. • ช่องรายการที่เกิดขึ้นไม่บ่อยครั้ง“บัญชีอื่น ๆ”

  16. สมุดรายวันเฉพาะ • สมุดเงินสดรับ/สมุดรายวันรับเงิน (Cash Receipts Journal) • สมุดเงินสดจ่าย/สมุดรายวันจ่ายเงิน (Cash Payment Journal) • สมุดรายวันซื้อ (Purchase Journal) • สมุดรายวันขาย (Sales Journal)

  17. ทะเบียนใบสำคัญสั่งจ่ายและทะเบียนเช็คจ่าย(Voucher Register and Payments Check Register) • ในกิจการที่ใช้ระบบใบสำคัญ โดยรายการที่จะจ่ายเงินจากกิจการ ไม่ว่าจะจ่ายเงินทันทีหรือรอเวลาจ่ายจะนำมาบันทึกไว้ในทะเบียนใบสำคัญสั่งจ่าย (ใบสำคัญค้างจ่าย) และตั้งรายการที่จะจ่ายเงินหรือรอการจ่ายเป็นเจ้าหนี้ทั้งหมด • การออกแบบทะเบียนใบสำคัญสั่งจ่ายจะคล้ายกับสมุดเงินสดจ่าย แต่ช่องเงินสดจ่ายจะเป็นช่องเจ้าหนี้ • เมื่อถึงกำหนดการจ่ายก็จะนำใบสำคัญสั่งจ่ายนั้นมาออกเช็คสั่งจ่ายแล้วบันทึกการจ่ายในทะเบียนเช็คจ่าย เมื่อผ่านรายการจ่ายนี้ไปบัญชีแยกประเภทก็จะล้างบัญชีเจ้าหนี้ ทำให้ยอดบัญชีเจ้าหนี้คงเหลือเท่ากับจำนวนเงินตามใบสำคัญสั่งจ่ายที่ยังไม่ได้จ่าย

  18. การใช้ใบสำคัญแทนการบันทึกสมุดรายวันเบื้องต้นการใช้ใบสำคัญแทนการบันทึกสมุดรายวันเบื้องต้น • ใช้ใบสำคัญปะหน้าเอกสารและวิเคราะห์รายการบัญชี แทนการบันทึกลงสมุด • ในปัจจุบันใช้ระบบใบสำคัญในการวิเคราะห์รายการบัญชีก่อนการบันทึกลง “โปรแกรมบัญชีสำเร็จรูป” • ในปัจจุบันรายงานสมุดรายวันต่าง ๆ สามารถจัดทำได้จา “โปรแกรมบัญชีสำเร็จรูป”

  19. ตัวอย่าง โปรแกรมบัญชีสำเร็จรูป ของสภาวิชาชีพบัญชี • My GL • ฟรีซอฟท์แวร์

  20. ประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เรื่อง กำหนดรายการย่อที่ต้อมีในงบการเงิน พ.ศ. 2552 โดยกำหนดไว้ 5 แบบ (ตามประเภทนิติบุคคลผู้มีหน้าที่ทำบัญชี) ให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลมาล่วงหน้าเพื่อใช้ในชั่วโมงเรียนถัดไป

More Related