1 / 55

บทที่ 3 โครงสร้างข้อมูลและการจัดการระบบข้อมูล (Data System Management and Data Structure)

บทที่ 3 โครงสร้างข้อมูลและการจัดการระบบข้อมูล (Data System Management and Data Structure). By Juthawut Chantharamalee Computer Science Suan Dusit University. 4124404 Human and Computer Interaction. เนื้อบทเรียน. โครงสร้างข้อมูล (Data Structure) การจัดโครงสร้างข้อมูล

Download Presentation

บทที่ 3 โครงสร้างข้อมูลและการจัดการระบบข้อมูล (Data System Management and Data Structure)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 3โครงสร้างข้อมูลและการจัดการระบบข้อมูล(Data System Management and Data Structure) By Juthawut Chantharamalee Computer Science Suan Dusit University 4124404 Human and Computer Interaction

  2. เนื้อบทเรียน • โครงสร้างข้อมูล (Data Structure) • การจัดโครงสร้างข้อมูล • การจำแนกโครงสร้างข้อมูล • ประเภทของแฟ้มข้อมูลในระบบสารสนเทศทางการบัญชี • ประเภทของฐานข้อมูล (Type of Database) • รูปแบบของฐานข้อมูล (Database Models)

  3. เนื้อบทเรียน (ต่อ) • กลุ่มภาษาเพื่อการนิยามข้อมูล (DDL) • กลุ่มภาษาเพื่อการจัดการข้อมูล (DML) • กลุ่มภาษาเพื่อใช้ในการควบคุมข้อมูล (DCL) • ระบบการจัดการจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ • ความสัมพันธ์ระหว่าง Entity( Cardinality )

  4. โครงสร้างของข้อมูล (Data Structure) 1. ลักษณะของรายการข้อมูล (Data Item) : ข้อมูลที่มีลักษณะเป็น Unitเดียว 2. ลักษณะของกลุ่มรายการ (Group Item) : แบ่งรายการข้อมูลออกเป็นรายการย่อยๆ / กลุ่มๆ 3. ลักษณะรายการเบื้องต้น (Elementary Item) : รายการข้อมูลที่ไม่สามารถแบ่งออกเป็นรายการย่อยๆ / กลุ่มๆได้ 4. กลุ่มของข้อมูล (Enitity Set) : - รายการที่มีรายละเอียดของข้อมูลคล้ายๆ กัน - หลายๆรายการรวมกันเป็นกลุ่ม

  5. โครงสร้างของข้อมูล (Data Structure) - มีคุณสมบัติของแต่ละรายการย่อย ที่มีลักษณะของข้อมูลอยู่ในช่วงที่กำหนด - ในการกำหนดความกว้าง / ความยาวของField จะมีทั้ง 1. คงที่ (Fixed Length) 2. ผันแปร (Variable Length) ใน 1 Record ย่อมมีทั้ง Fixed & Variable Length

  6. การจัดโครงสร้างของข้อมูล - ต้องทำความเข้าใจต่อระบบการจัดการ / จัดรูปแบบข้อมูล - สามารถ Access และเรียกใช้ข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ - สามารถประยุกต์ใช้กับงานด้านต่างๆได้ดี - ต้องให้ความสำคัญต่อระบบการจัดการข้อมูล โดยข้อมูลต้องประกอบด้วย 1. จัดให้เป็นระบบ (Organize) สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ ตามจุดมุ่งหมายผู้ใช้

  7. การจัดโครงสร้างของข้อมูล 2. ประมวลผล (Process) และแสดงผลลัพธ์ (Presentation Output) ในรูปแบบที่ต้องการ 3. เป็นตัวแทน (Represent) ของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น 4. สามารถป้องกัน (Protect) และจัดการ (Manage) ทำให้ข้อมูลมีความถูกต้อง / สมบูรณ์

  8. การจำแนกโครงสร้างของข้อมูล 1. โครงสร้างข้อมูลพื้นฐาน (Primitive Data Structure) - มีค่าเฉพาะประเภทใดประเภทหนึ่ง ดังนี้ 1. เลขจำนวนเต็ม (Integer) 2. ตรรก (Boolean) 3. อักษร (Character) 4. เลขจำนวนจริง (Real) ฯลฯ - แต่ละภาษา Com. จะมีวิธีการและการกำหนดคำสั่งที่แตกต่างกัน - โครงสร้างของไวยากรณ์แต่ละภาษา จะแตกต่างกัน

  9. การจำแนกโครงสร้างของข้อมูล - การประกาศตัวแปรบางภาษา 1. ประกาศแบบเป็นทางการ (Explicit Declare) : แยกเป็นส่วนหนึ่งต่างหาก : Pascal , Cobol 2. ประกาศตัวแปรภายในโปรแกรม (Implicit Declare) : - ไม่ต้องแยกออกมาเป็นส่วนหนึ่งต่างหากจากคำสั่ง : Fortrane ฯลฯ

  10. การจำแนกโครงสร้างของข้อมูล • การออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ หรือระบบการติดต่อระหว่างผู้ใช้งานระบบและระบบงานทางคอมพิวเตอร์เป็นส่วนที่เต้องอาศัยจินตนาการในเรื่องการดำเนินงานอย่างมากเพราะต้องคิดเผื่อว่า ระบบนั้นได้ดำเนินงานเสร็จสิ้นไปแล้วจะ

  11. การจำแนกโครงสร้างของข้อมูล 2. โครงสร้างข้อมูลที่มีส่วนประกอบอย่างง่าย (Simple Data Structure) - นำเอาข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานประกอบขึ้นมาเป็นชุดของข้อมูล - มีความสัมพันธ์กันในลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง - เช่น ข้อมูลรูปแบบArray รูปแบบข้อมูลแบบRecord ฯลฯ

  12. การจำแนกโครงสร้างของข้อมูล 3. โครงสร้างข้อมูลที่มีส่วนประกอบซับซ้อน (Compound Data Structure) - นำเอาข้อมูลที่มีส่วนประกอบอย่างง่ายๆมาประกอบขึ้น เป็นโครงสร้างที่ซับซ้อน - เป็นการเฉพาะกิจภายในโปรแกรมแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ1. ชุดข้อมูลสัมพันธ์เชิงเส้นตรง (Linear Structure) : Linked List, Stack, Queue ฯลฯ 2. ชุดข้อมูลสัมพันธ์ไม่เป็นเส้นตรง (Non - Linear Structure) : Binary Tree, Graph, Tree, M – way, Search Tree ฯลฯ

  13. ประเภทของฐานข้อมูล (Type of Database) 1. ฐานข้อมูลจากภายนอก (External Database) - อยู่ในเครือข่ายInternet - ถูกจัดเตรียมข้อมูลจากหน่วยงานต่างๆ : ภาครัฐ และ เอกชน - สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย 2. ฐานข้อมูลแบบกระจาย (Distributed Database) - ปรับเปลี่ยนตามโครงสร้างของการมีหน่วยงานแต่ละสถานที่ - เชื่อมโยงข้อมูลผ่านเข้ามาหน่วยงานกลาง - ฐานข้อมูลรวมอยู่ที่หน่วยงานกลาง จะทำหน้าที่ปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยอยู่เสมอ

  14. ประเภทของฐานข้อมูล (Type of Database) 3. ฐานข้อมูลเชิงคลังข้อมูล (Data Warehouse Database) - เป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลที่มีประโยชน์ต่อผู้ใช้องค์กรในระดับต่างๆ - เป็นข้อมูลทั้งในอดีต และปัจจุบัน - ทำการกลั่นกรองจากฐานข้อมูล / ระบบงานอื่นๆ - เอาเฉพาะที่ให้ประโยชน์ต่อองค์กรธุรกิจมาเก็บไว้รวมกัน - เตรียมความพร้อมเมื่อต้องการใช้ข้อมูลอย่างรวดเร็ว - ได้ข้อมูลที่ตรงต่อเป้าหมายในการใช้งาน

  15. ประเภทของฐานข้อมูล (Type of Database) 4. ฐานข้อมูลสำหรับผู้ใช้ปลายทาง (End User Database) - ฐานข้อมูลส่วนตัว / ส่วนบุคคลของผู้ใช้งาน - ถูกสร้างโดยผู้ใช้งานเอง - การจัดเก็บข้อมูล จะถูกแยกเป็นแฟ้มข้อมูลอยู่ในที่เดียวกัน 5. ฐานข้อมูลเชิงปฏิบัติงาน (Operational Database) - เกี่ยวข้องกับรายการที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานขององค์กรธุรกิจ - ขึ้นอยู่กับกิจกรรมทั้งหมดที่องค์กรธุรกิจกระทำ - ฐานข้อมูลเชิงรายการค้าทางธุรกิจ (Business Transaction Databases) เช่น : ฐานข้อมูลพนักงาน , ฐานข้อมูลสินค้า ฯลฯ

  16. ประเภทของฐานข้อมูล (Type of Database) 6. ฐานข้อมูลเชิงจัดการ (Management Database) - ผ่านการวิเคราะห์ / จัดเก็บให้อยู่ในรูปแบบการนำมาใช้งานได้ทันที - เพื่อการวางแผน ควบคุม และการตัดสินใจอย่างทันเวลา - ข้อมูลจะถูกสรุปให้เหมาะสม กะทัดรัด และชัดเจน - แหล่งของข้อมูลที่ใช้ในการผลิตฐานข้อมูล มาจากการประมวลผลของ 1) การนำฐานข้อมูลเชิงการปฏิบัติงาน 2) ข้อมูลจากภายนอกที่ส่งผลกระทบต่อการบริหาร/จัดการขององค์กรธุรกิจเรียกอีกอย่างว่า ฐานข้อมูลเชิงการวิเคราะห์ (Analytical Databases)

  17. รูปแบบของฐานข้อมูล (Database Models) แบ่งออกเป็น 5 รูปแบบ ดังนี้ 1. ฐานข้อมูลในรูปแบบลำดับชั้น ( Hierarchical Models ) 2. ฐานข้อมูลในรูปแบบเครือข่าย ( Network Models ) 3. ฐานข้อมูลในรูปแบบเชิงสัมพันธ์ ( Relation Models ) 4. ฐานข้อมูลในรูปแบบเชิงวัตถุ ( Object - Oriented Models ) 5. ฐานข้อมูลในรูปแบบเชิงหลายมิติ ( Multi – Dimensional Models )

  18. รูปแบบของฐานข้อมูล (Database Models) 1. ฐานข้อมูลในรูปแบบลำดับชั้น ( Hierarchical Models ) - เป็นรูปแบบอย่างง่าย และเกิดขึ้นเป็นรูปแบบแรก - มีลักษณะคล้ายต้นไม้หัวกลับ - อาจเรียกกันว่า รูปแบบโครงสร้างต้นไม้ ( Tree Structure ) - ฐานข้อมูลนี้จะมีความสัมพันธ์ไม่ซับซ้อน 1. ลักษณะหนึ่ง Entity ต่อหนึ่ง Entity (1:1) 2. หนึ่ง Entity ต่อกลุ่มของ Entity (1:n) 3. ไม่มีความสัมพันธ์ในลักษณะของกลุ่ม Entity ต่อกลุ่ม Entity (n:m)

  19. Hierarchical Database Models

  20. รูปแบบของฐานข้อมูล (Database Models) 2. ฐานข้อมูลในรูปแบบเครือข่าย (Network Models) - สามารถเชื่อมโยงอย่างทั่วถึงทุก ๆ Entity ที่ต้องการเชื่อมโยงและมีความสัมพันธ์ระหว่างกัน - ความสัมพันธ์จะอยู่ในลักษณะ 1. หนึ่ง Entity ต่อ หนึ่ง Entity (1:1) 2. หนึ่ง Entity ต่อ กลุ่มของ Entity (1:n) 3. กลุ่มของ Entity ต่อ หนึ่ง Entity (1:n) 4. กลุ่มของ Entity ต่อ กลุ่มของ Entity (n:m) - จะมีความซับซ้อนและยุ่งยากในการใช้งานค่อนข้างมาก - ปัจจุบันไม่ถูกนำมาใช้อย่างเป็นทางการอีกแล้ว

  21. Network Database Models

  22. รูปแบบของฐานข้อมูล (Database Models) 3. ฐานข้อมูลในรูปแบบเชิงสัมพันธ์ (Relational Models) - นิยมใช้กันมากในปัจจุบันและจะทำการจัดเก็บข้อมูลในรูปของตาราง(Table) - มีลักษณะเป็น 2 มิติ 1. แนวนอนที่เรียกว่า แถว (Row) > Tuple 2. แนวตั้งที่เรียกว่า คอลัมน์ (column) > Attribute - การเชื่อมโยงความสัมพันธ์จะต้องอาศัยค่าของKey Field หรือค่าของ Attributeที่อยู่ในตารางซึ่ง จัดเก็บข้อมูล - แต่ละตารางจะต้องมีชื่อตารางกำกับไว้ที่ ด้านบนสุดของตาราง ซึ่งเรียกว่า ชื่อของEntity (Entity name)

  23. รูปแบบของฐานข้อมูล (Database Models) - ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในการแก้ปัญหา 1. การเชื่อมโยงในรูปแบบฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น ส่วนของการเชื่อมโยงที่ไม่มีความยืดหยุ่น 2. การเชื่อมโยงในรูปแบบฐานข้อมูลแบบเครือข่าย ในส่วนของการเชื่อมโยงที่มีความยุ่งยากและซับซ้อนมากจนเกินไป - ทำให้ผู้ใช้งานที่มีความรู้ความชำนาญไม่เพียงพอ สามารถใช้งานได้ - ทุกส่วนย่อยจะถูกจัดเก็บไว้ในตารางเท่านั้น รวมทั้งตารางต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์และเกี่ยวข้องกัน - มี Primary Key 1. เป็นตัวช่วยในการเชื่อมโยงตาราง 2. การเข้าถึงและค้นคืนข้อมูล ช่วยในการลดความซ้ำซ้อนของการจัดเก็บข้อมูลและง่ายต่อการค้นหาหรือเรียกใช้ข้อมูล

  24. Relational Database Models

  25. รูปแบบของฐานข้อมูล (Database Models) 4. ฐานข้อมูลในรูปแบบเชิงวัตถุ (Object – Oriented Models) - เพื่อต้องการสร้างความสามารถเพิ่มมากขึ้นแก่การจัดเก็บข้อมูลในฐานข้อมูล - ในอดีตจะเก็บข้อมูลในรูปแบบข้อความ ( Text ) เท่านั้น - จะสามารถจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบกราฟิก ( Graphics ) รูปภาพ ( Pictures) เสียง ( Voice )และข้อความ (Text ) หรือที่เรียกว่า มัลติมีเดีย ( Multimedia)

  26. รูปแบบของฐานข้อมูล (Database Models) - มีส่วนประกอบในแต่ละวัตถุ คือ 1. ข้อมูลที่จะจัดเก็บ 2. โครงสร้างของ Attribute ที่ต้องการให้มีอยู่ในวัตถุนั้น 3. คำสั่งเพื่อบอกว่าวัตถุนั้นสามารถกระทำ ( Action ) อะไรได้บ้าง - จะจัดเก็บทุก ๆ สิ่งเป็นวัตถุทั้งหมด - วัตถุแต่ละวัตถุที่จัดเก็บยังสามารถบรรยายคุณสมบัติและบทบาทหน้าที่ในตัวเองของมันเอง

  27. รูปแบบของฐานข้อมูล (Database Models) คุณสมบัติพิเศษอื่นๆ ของ ฐานข้อมูลในรูปแบบเชิงสัมพันธ์ 1. การถ่ายทอดคุณสมบัติ (Inheritance) 2. การเก็บซ่อนรายละเอียด ( Encapsulation ) 3. การนำกลับมาใช้ใหม่ (Reusable )

  28. 1. การถ่ายทอดคุณสมบัติ (Inheritance) - เป็นการนำโครงสร้างของAttributeที่อยู่ในวัตถุและคำสั่งเพื่อกระทำการในวัตถุหนึ่งไปใช้ในวัตถุอื่น - มีลักษณะโครงสร้างของAttributeที่อยู่ในวัตถุและคำสั่งเพื่อกระทำการในวัตถุเหมือนกัน - ต่างกิจกรรมกันเท่านั้น - โครงสร้างของAttributeที่อยู่ในวัตถุและคำสั่งเพื่อกระทำในวัตถุขึ้น -สามารถถ่ายทอดคุณสมบัติได้ทันทีอย่างทั่วถึงโดยไม่ต้องสร้างใหม่

  29. 2. การเก็บซ่อนรายละเอียด (Encapsulation) - การปกปิดข้อมูลโครงสร้างของAttributeและคำสั่งเพื่อกระทำการต่างๆที่อยู่ในวัตถุ - การที่จะเข้าไปหรือเข้าถึงวัตถุได้นั้นต้องได้รับอนุญาตเสียก่อนว่าในคำสั่งที่กำหนดไว้ใน Methodได้ประกาศไว้หรือไม่ - ถ้ามีจึงจะเข้าไปได้โดยการส่งข้อความเข้าไปร้องขอการใช้งานในส่วนที่ตนเกี่ยวข้องเท่านั้น

  30. 3. การนำกลับมาใช้ใหม่ (Reusable) - การนำวัตถุที่เคยสร้างขึ้นมานำมาปรับเปลี่ยนแก้ไขบางส่วนเพื่อนำไปใช้งานในวัตถุอื่นต่อไป

  31. รูปแบบของฐานข้อมูล (Database Models) 5. ฐานข้อมูลในรูปแบบเชิงหลายมิติ (Multi-Dimensional Models) - นำมาใช้ในการเพื่อวิเคราะห์ธุรกิจที่มีความสลับซับซ้อนและมีความยุ่งยากในการดำเนินงาน

  32. Multi-Dimensional Database Models

  33. ภาษาที่ใช้ในการจัดการฐานข้อมูลภาษาที่ใช้ในการจัดการฐานข้อมูล - แบบจำลองการกระทำดังกล่าวสามารถจำแนกออกได้เป็น 2 รูปแบบ 1. ความสำพันธ์เชิงพีชคณิต(Relational Algebra) 2. ความสำคัญเชิงแคลคูลัส(Relation Calculus) 1. ความสำพันธ์เชิงพีชคณิต (Relational Algebra) - ทฤษฎีทางภาษาสำหรับการปฏิบัติการระหว่างข้อมูลต่างๆในตารางหนึ่งหรือหลายๆตารางที่มี ความสัมพันธ์กัน - ไม่ส่งผลถึงตารางข้อมูลหลัก (Original Table or Original Relation) ที่ได้จัดเก็บไว้อยู่แล้ว - คำสั่งการสอบถามขั้นพื้นฐานส่วนใหญ่ที่ใช้กันถูกครอบคลุมด้วยตัวปฏิบัติการประกอบด้วย PROJECT SELECT และ JOIN

  34. 1. ความสำพันธ์เชิงพีชคณิต (Relational Algebra) PROJECT - ตัวปฎิบัติการในการดึงหรือค้นคืนข้อมูลในแนวตั้ง หรือ Column หรือ Attribute ของตารางใน ฐานข้อมูล - ทำการนำข้อมูลดังกล่าวมาสร้างตารางหรือRelationใหม่ SELECT - ตัวปฎิบัติการในการดึงหรือค้นคืนข้อมูลในแนวนอน หรือ Row หรือ Tupleของตารางใน ฐานข้อมูล - ทำการนำข้อมูลดังกล่าวมาสร้างตารางหรือRelationใหม่

  35. 1. ความสำพันธ์เชิงพีชคณิต (Relational Algebra) JOIN - เป็นตัวปฏิบัติการที่มีความสัมพันธ์เชิงพีชคณิตในการรวมตารางหรือRelationที่มีข้อมูลแยกกันอยู่ ในแต่ละตารางเข้ามารวมกัน - ตารางหรือRelationที่นำมารวมกันจะต้องสามารถเชื่อมโยงกันได้ระหว่างAttributes - การเชื่อมโยงเพื่อรวมตารางหรือRelationนั้น จะอาศัย Foreign Keyของตารางหนึ่งเพื่อไปอ้างอิง กับ Candidate Key ที่อยู่ในตารางหรือRelationอื่น

  36. การพิจารณาว่าจะนำระบบการจัดการฐานข้อมูลตัวใดมาใช้งานมีการพิจารณาในเรื่องการพิจารณาว่าจะนำระบบการจัดการฐานข้อมูลตัวใดมาใช้งานมีการพิจารณาในเรื่อง 1. ราคา 2. ความสามารถของตัวระบบการจัดการฐานข้อมูล 3. ความเข้ากันกับH/W และ S/W ระบบปฏิบัติการที่มีอยู่แล้ว สิ่งจำเป็นจะต้องมีอยู่ในระบบก็คือ ภาษา ทางด้านฐานข้อมูลหรือที่เรียกกันว่า ภาษาการสืบค้นหรือค้นคืน หรือสอบถามข้อมูล (Query Language) 1. ภาษา SQL (Structured Query Language) 2. ภาษา QBE (Query – by – Example) 3. ภาษา Quel ฯลฯ

  37. คำสั่งต่าง ๆ ของภาษา SQL จะสามารถแบ่งกลุ่มตามลักษณะการใช้งานเป็น 3 กลุ่ม คือ 1. กลุ่มภาษา เพื่อการนิยามข้อมูล (Data Definition Language : DDL) 2. กลุ่มภาษาเพื่อการจัดการข้อมูล (Data Manipulation Language: DML) 3. กลุ่มภาษาเพื่อใช้ในการควบคุมข้อมูล (Data Control Language: DCL)

  38. กลุ่มภาษาเพื่อการนิยามข้อมูล (DDL) - กลุ่มคำสั่งที่ใช้สำหรับการกำหนดโครงสร้างของฐานข้อมูลในแต่ละ Entity - มี Attribute อะไรบ้าง - ประเภทของ Attribute จะเป็นชนิดใด มีความกว้างของข้อมูลเท่าใด - โครงสร้างของฐานข้อมูลมีชื่อว่า “Schema” - ใช้ในการกำหนดการเพิ่ม ลด เปลี่ยนแปลง Attribute • ใช้ในการกำหนด สิทธิการใช้งาน ให้กับผู้ใช้ - การกำหนดถึง Integrity Rules - : สร้าง Entity ที่มีชื่อ ว่า INVENTORY

  39. กลุ่มภาษาเพื่อการนิยามข้อมูล (DDL) • อะไรที่ออกแรงน้อย ใช้เวลาน้อย แล้วผลมากๆ นั่นเรียกว่า ทำงานได้ฉลาด • มีพลังงานขนาดกระป๋องโค้ก • สามารถแปลงให้เป็นพลังงานแสงได้ขนาดเท่าดวงดาว แบบนี้เรียกว่าฉลาด • คน 2 คนเดินทางไปโรบินสันชลบุรี • คนแรกใช้เวลาเดินทาง 3 ชั่วโมงผ่านสุขุมวิท • คนที่สอง ใช้เส้นทางเมืองใหม่ ใช้เวลาเดินทาง 30 นาที ไปทางลัดแบบนี้ฉลาด • การทำธุรกิจก็ได้ เช่น มีเงิน 100 บาท เอาไปลงทุนใช้เวลา 10 วันแล้วได้กำไรกลับมา 1 ล้านบาทแล้วไม่ผิดศีลธรรมแบบนี้เรียกว่าฉลาด • แล้วเราจะออกแบบหน้าจอโปรแกรมของเราใช้ฉลาดได้อย่างไร

  40. กลุ่มภาษาเพื่อการนิยามข้อมูล (DDL) - : สร้าง Entity ที่มีชื่อ ว่า INVENTORY CREATE TABLE INVENTORY Product_ID CHAR(8)NOT NULL, Pro_DESCRIPT CHAR(35), Stock_DateDate, On_HandSMALLINT, MIN_QUANT SMALLINT, PRICE DECIMAL(7,2), V_CODE SMALLINT, PRIMARY KEY (Product_ID), FOREIGN KEY (V_CODE) REFERENCE VENDOR);

  41. กลุ่มภาษาเพื่อการจัดการข้อมูล (DML) - กลุ่มคำสั่งที่ใช้ในการจัดการข้อมูลในฐานข้อมูล - แสดงผลตามรูปแบบที่ต้องการ โดยมีไวยากรณ์ โครงสร้างของคำสั่ง (Syntax Diagram) SELECT attribute name (s) FROM table name (s) WHERE condition criteria is mete;

  42. ตัวอย่างการเขียนคำสั่งเพื่อการจัดการข้อมูลตามภาษา SQL SELECT FirstName, Lastname, Telephone FROM Employee;

  43. ตัวอย่างการเขียนคำสั่งเพื่อการจัดการข้อมูลตามภาษา SQL คำอธิบาย: - เลือกAttribute ชื่อ นามสกุล และเบอร์โทรคัพท์จาก ตารางหรือRelation ที่ชื่อว่า Employee SELECT * FROM Employee WHERE PayRate < 560; คำอธิบาย: - เลือกAttributeทั้งหมด - จากตารางหรือRelationที่ชื่อว่า Employee - ให้แสดงเฉพาะพนักงานที่มีอัตราค่าจ่างน้อยกว่า 560 บาทเท่านั้น

  44. กลุ่มภาษาเพื่อใช้ในการควบคุมข้อมูล (DCL) - ใช้สำหรับการควบคุมและรักษาความปลอดภัยของข้อมูลบนฐานข้อมูล - ให้สิทธิในการใช้งานฐานข้อมูล เช่น การเพิ่ม การแก้ไข หรือการลบข้อมูลใน ฐานข้อมูลได้

  45. ระบบการจัดการจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์( Relational Database Management System: RDBMS - จะแสดงการเก็บข้อมูลในรูปของตารางหรือRelation ซึ่งเป็นรูปแบบที่ง่ายต่อการเข้าใจ - สามารถตอบสนองต่อการค้นคืนหรือสอบถามที่ซับซ้อนได้ดีกว่ารูปแบบฐานข้อมูลประเภทอื่นๆ

  46. กฎที่เกี่ยวข้องกับ Keyในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ กฎความบูรณภาพของ Entity (The Entity Integrity Rule) - ค่าของข้อมูลของAttribute ที่เป็นKeyหลักจะเป็น ค่าว่าง (Null Value)ไม่ได้ - “ ค่าว่าง ”หมายถึง ไม่ทราบค่าที่แน่นอนหรือไม่มีค่าแสดงอยู่ในAttributeนั้น กฎความบูรณภาพของการอ้างอิง (The Referential Integrity Rule) - Keyนอก (Foreign Key) จะต้องสามารถอ้างอิงได้ตรงกันกับค่าของKeyหลัก (Primary Key) ของอีกตารางหรือ Relation หนึ่งเสมอ

  47. กฎที่เกี่ยวข้องกับ Key ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ กฎของคีย์นอก (The Foreign Key Rule) 1. ค่าของคีย์ K เป็นค่าว่าง (Null) ได้หรือไม่ - ขึ้นอยู่กับกฎเกณฑ์ในการออกแบบฐานข้อมูลว่า มีข้อกำหนดอย่างไร - ซึ่งเป็นไปตามนโยบายของหน่วยงานนั้นๆ 2. กรณีที่มีการลบหรือแก้ไข จะทำการลบ หรือ แก้ไขข้อมูลได้หรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับการ ออกแบบฐานข้อมูลว่าได้ มีคุณสมบัติอย่างไร

  48. กฎที่เกี่ยวข้องกับ Key ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ • การลบหรือแก้ไขข้อมูลแบบมีข้อจำกัด (Restricted) - ข้อมูลของ Key หลักในอีกตารางหรือ Relation หนึ่งในอีกตารางหรือ Relation หนึ่งไม่มีข้อมูล ที่ถูกอ้างอิง - Key นอกของอีกตารางหรือ Relation หนึ่ง จะแก้ไขหรือลบได้ก็ต่อเมื่อไม่มีพนักงานคนใด สังกัดอยู่ในแผนกนั้นแล้ว

  49. กฎที่เกี่ยวข้องกับ Key ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ การลบหรือแก้ไขข้อมูลแบบลูกโซ่ (Cascade) - การลบหรือแก้ไขข้อมูลของ Key หลักในตาราง หรือ Relation หนึ่ง - จะทำการลบหรือแก้ไขข้อมูลของ Key นอก ให้อีก ตารางหรือRelation หนึ่งที่อ้างอิงถึงข้อมูลของ Key หลักที่ ถูกลบหรือแก้ไขให้ด้วย การลบหรือแก้ไขข้อมูลโดยเปลี่ยนเป็นค่าว่าง (Nullify) - จะทำได้ต่อเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงค่าของ Key นอกในข้อมูลที่ถูกอ้างอิงถึงให้เป็นค่าว่างเสียก่อน

  50. ความสัมพันธ์ระหว่าง Entity( Cardinality ) - เป็นการแสดงถึงเกี่ยวข้องระหว่างEntityหนึ่งไปมีความสัมพันธ์กับอีก Entity อื่น - ใช้ Key ต่างๆ จะเป็น Primary Key Secondary Key Foreign Key - เป็นตัวเชื่อมโยงความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้น เพื่อให้ฐานข้อมูลใช้งานได้ง่ายและไม่ให้เกิดความซ้ำซ้อน แบ่งออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ ประกอบด้วย 1.ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง ( One – to – One ) 2.ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม ( One – to – Many ) 3.ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม ( Many – to – Many )

More Related