1 / 35

โศกนาฏกรรมชีวิตเมาแล้วขับ

โศกนาฏกรรมชีวิตเมาแล้วขับ. นำเสนอโดย ศูนย์ประสานงานเครือข่ายเหยื่อเมาแล้วขับ จ.เชียงใหม่ โรงพยาบาลนครพิงค์เชียงใหม่. จั ก ร ริ น ท ร์ จุ ล ว ง ษ์ ประธานเครือข่ายเหยื่อเมาแล้วขับ จังหวัดเชียงใหม่. คนเมามีสามกลุ่ม. 3 . พูดไม่ได้เพราะสลบไปแล้ว. 2 . บอกว่าไม่เมา. 1 .บอกว่าตนเองเมาแล้ว.

gray-maddox
Download Presentation

โศกนาฏกรรมชีวิตเมาแล้วขับ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โศกนาฏกรรมชีวิตเมาแล้วขับโศกนาฏกรรมชีวิตเมาแล้วขับ นำเสนอโดย ศูนย์ประสานงานเครือข่ายเหยื่อเมาแล้วขับ จ.เชียงใหม่ โรงพยาบาลนครพิงค์เชียงใหม่

  2. จั ก ร ริ น ท ร์ จุ ล ว ง ษ์ ประธานเครือข่ายเหยื่อเมาแล้วขับ จังหวัดเชียงใหม่

  3. คนเมามีสามกลุ่ม • 3. พูดไม่ได้เพราะสลบไปแล้ว 2. บอกว่าไม่เมา 1.บอกว่าตนเองเมาแล้ว

  4. เหตุใดวัยรุ่น จึงกลายเป็น “นักดื่ม” หน้าใหม่ • คนรุ่นใหม่ นิยมดื่มสุรามากกว่าคนรุ่นก่อน • นักเรียน ม.ปลาย – อุดมศึกษา ประมาณ 1 ใน 3 ยอมรับว่าตนเอง “ดื่มสุรา” • นักเรียนชาย และหญิงระดับชั้นมัธยมปลาย และระดับ ปวช.ที่เคย • ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ประมาณร้อยละ 50 เริ่มดื่มสุราเมื่ออายุต่ำ กว่า 15 ปี

  5. การตายที่สัมพันธ์กับการบริโภคแอลกอฮอล์การตายที่สัมพันธ์กับการบริโภคแอลกอฮอล์ • การเสียชีวิตของประชากรโลก 5 ใน 100 คน เกิดจากสุรา • สุราเป็นสาเหตุของโรคและการบาดเจ็บ มากกว่า 60 ชนิด องค์การอนามัยโลก คาดประมาณว่า ร้อยละ 30 ของการตายจากมะเร็งหลอดอาหาร โรคตับ โรคชัก อุบัติเหตุ จราจร ฆาตกรรม และการบาดเจ็บโดยเจตนา มีสาเหตุจากการบริโภค เครื่องดื่มแอลกอฮอล์

  6. สถานการณ์ และความเป็นจริง • ผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุกว่าครึ่งเป็นวัยหนุ่มสาว (15-35 ปี) • ร้อยละ 60 ของการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุ เกี่ยวข้องกับการเมา • อัตราการตรวจจับการเมาแล้วขับต่ำมาก • อัตราการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของคนไทยเพิ่มขึ้น • ยังไม่มีการรณรงค์อย่างต่อเนื่องให้สังคมตระหนักถึงความสูญเสีย จากอุบัติเหตุจราจร

  7. เห็นภาพ.........คุณนึกถึงอะไร........ ? เ า ม

  8. หนูน้อยผู้โชคร้ายเหยื่อเมาแล้วขับหนูน้อยผู้โชคร้ายเหยื่อเมาแล้วขับ ตายนอกสนามรบ เพราะเมาแล้วขับ เละ หนูผิดอะไร

  9. สิ้นเปลืองค่ารักษาพยาบาลจำนวนมหาศาลสิ้นเปลืองค่ารักษาพยาบาลจำนวนมหาศาล

  10. ผู้ป่วยล้นออกมาเต็มระเบียงทางเดินผู้ป่วยล้นออกมาเต็มระเบียงทางเดิน

  11. แฟชั่นเด็กรุ่นใหม่ใส่เหล็กที่ขาแฟชั่นเด็กรุ่นใหม่ใส่เหล็กที่ขา

  12. ตายเพราะโทรศัพท์

  13. ยับเยิน

  14. สองคนหาม สี่คนแห่

  15. เมาแล้วซิ่ง ชีวิตดับสูญ

  16. 2 หนูน้อยผู้โชคร้ายเหยื่อเมาแล้วขับ

  17. หมอครับ... หายแล้ว ผมขอกลับไปวิ่งเล่นกับเพื่อนนะครับ

  18. พ่อแม่กอดศพลูก

  19. คุณยายต้องคอยดูแลหลานที่กระดูกคอหักจากอุบัติเหตุจราจรจากความเมา (ตลอดชีวิตของใครคนใดคนหนึ่ง)

  20. ตายแล้ว...............ก็เผา........พ่อแม่เลี้ยงมาไม่ตายแล้ว...............ก็เผา........พ่อแม่เลี้ยงมาไม่

  21. ไม่ตาย.......พิการ.......เหยื่อเมาแล้วขับไม่ตาย.......พิการ.......เหยื่อเมาแล้วขับ

  22. ประเทศไหนติดท็อปไฟว์แชมป์นักดื่มแอลกอฮอล์โลกประเทศไหนติดท็อปไฟว์แชมป์นักดื่มแอลกอฮอล์โลก 1.โปรตุเกส 2. สาธารณรัฐไอซ์แลนด์ 3. บาฮาม่าส์ 4. สาธารณรัฐเชค 5. ไทย ปี 2533 ดื่มเฉลี่ย 7.46 ลิตรต่อคนต่อปี ปี 2548 เพิ่มขึ้นเป็น 40 ลิตรต่อคนต่อปี

  23. แชมป์การดื่มประจำภาค ภาคอีสาน แชมป์ ภาคเหนือ รองแชมป์ ภาคกลาง + กรุงเทพฯอันดับ 3 ภาคใต้ อันดับ 4 อัตราตายและบาดเจ็บผู้ชายจะสูงกว่าผู้หญิง 4 เท่ารถจักรยานยนต์รถปิคอัพเป็นพาหนะที่ก่อให้เกิดอุบัติเหตุมากที่สุดร้อยละ 80 เครื่องดื่มที่นิยมดื่มก่อนเสียชีวิตและบาดเจ็บเบียร์ช้าง, เบียร์ลีโอ, เบียร์สิงห์, แม่โขง, ฮันเดตไพร์เพอร์, จอห์นนีวอคส์เกอร์ฯลฯ

  24. นักดื่มแอลกอฮอล์เป็นใครนักดื่มแอลกอฮอล์เป็นใคร ประชากรไทยปัจจุบัน 64 ล้านคน เป็นคนไทยที่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 19 ล้านคน ผู้ชายมากกว่าผู้หญิง 3 เท่า ผู้ชาย 16 ล้านคน ผู้หญิง 3 ล้านคน แนวโน้มวัยรุ่นหญิงดื่มมากขึ้น

  25. ระดับแอลกอฮอล์ในเลือดระดับแอลกอฮอล์ในเลือด (มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์) 20 50 80 100 150 มากกว่า200 โอกาสเกิดอุบัติเหตุเมื่อเทียบกับคนที่ไม่ดื่ม ใกล้เคียงกับคนไม่ดื่ม โอกาสเกิดอุบัติเหตุเพิ่มเป็น 2 เท่า โอกาสเกิดอุบัติเหตุเพิ่มเป็น 3เท่า โอกาสเกิดอุบัติเหตุเพิ่มเป็น 6 เท่า โอกาสเกิดอุบัติเหตุเพิ่มเป็น 40เท่า ไม่สามารถวัดได้ เนื่องจากควบคุมการทดลองไม่ได้ เปรียบเทียบระดับแอลกอฮอล์ในเลือดกับโอกาสเกิดอุบัติเหตุจราจร

  26. มาตราการควบคุมและตรวจจับมาตราการควบคุมและตรวจจับ • การตรวจจับแอลกอฮอล์ในเลือด ปัจจุบันมีวิธีการตรวจหาระดับแอลกอฮอล์ในเลือดได้ 3 วิธี หลักๆคือ 1.ทางลมหายใจ โดยการเป่าลมออกจากปากเข้าไปในเครื่องตรวจตัวเลขที่อยู่บนเครื่องจะบอกระดับแอลกอฮอล์ในเลือดเป็นมิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์(mg%) • 2.ทางเลือดโดยตรง • 3.ทางปัสสาวะ

  27. กำหนดแอลกอฮอล์ในเลือดของผู้ขับขี่ในประเทศต่างๆกำหนดแอลกอฮอล์ในเลือดของผู้ขับขี่ในประเทศต่างๆ ออสเตรเลีย 50 มิลลิกรัม% ไทย 50 มิลลิกรัม% ฟินแลนด์ 50 มิลลิกรัม% เนเธอร์แลนด์ 50 มิลลิกรัม% โปแลนด์ 30 มิลลิกรัม% ญี่ปุ่น 30 มิลลิกรัม% โรมาเนีย 0 มิลลิกรัม% สโลวะเกีย 0 มิลลิกรัม% ยูเครน0 มิลลิกรัม% มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (ABAC) สำรวจความคิดเห็นประชาชน ร้อยละ 92.8เห็นด้วย ที่จะให้ตำรวจทำการจับกุมผู้ที่เมาแล้วขับอย่างจิงจัง ร้อยละ 3.3ไม่เห็นด้วย ร้อยละ 3.9 ไม่มีความเห็น

  28. ผลสรุปอุบัติเหตุทางถนน 7 วัน ตั้งแต่วันที่ 30 ธ.ค. 51-5 ม.ค. 52 • เกิดอุบัติเหตุรวม 3,824 ครั้ง น้อยกว่าปีที่แล้ว • ผู้เสียชีวิต367 คนน้อยกว่าปี 51(401 คน) • ส่วนผู้บาดเจ็บมีจำนวน 4,107 คน น้อยกว่าปี 51 • จังหวัดที่เกิดอุบัติเหตุรวมสูงสูด ได้แก่ เชียงราย 118 ครั้ง ( 354ครั้ง) • จังหวัดที่มีผู้เสียชีวิตรวมสูงสุด ได้แก่ เชียงราย 21 คน • จังหวัดที่ยังไม่มีผู้เสียชีวิตมี 7 จังหวัดได้แก่ ยโสธร สกลนคร นครพนม แม่ฮ่องสอน อุทัยธานี กระบี่ และระนอง • จังหวัดที่มีผู้บาดเจ็บสะสมสูงสุด ได้แก่ เพชรบูรณ์ 136 คน ทั้งนี้ ตัวเลขของผู้ประสบอุบัติเหตุและผู้เสียชีวิตในปีนี้ถือว่าน้อยลงกว่าปีที่แล้ว

  29. สาเหตุที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุสูงสุด ได้แก่ 1.ขับรถเร็วเกินกำหนด ร้อยละ 27.64 เมา 2.เมาสุรา ร้อยละ 23.27 • ยานพาหนะที่เกิดอุบัติเหตุสูงสุด ได้แก่ รถจักรยานยนต์ • ผู้เสียชีวิตส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มวัยแรงงาน (อายุ 25 - 49 ปี) ร้อยละ 48.94 • ช่วงเวลาที่เกิดอุบัติเหตุสูงสุด คือช่วงกลางคืน โดยเฉพาะช่วงเวลา 16.01-20.00 น. • ส่วนใหญ่เกิดในเส้นทางตรง ร้อยละ 54.91 บนถนนทางหลวงแผ่นดิน ร้อยละ 38.54

  30. สถิติอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาลปีใหม่ 2552 ของเชียงใหม่ในรอบ 7วัน เสียชีวิตแล้ว 11 คน • สำหรับสถิติสะสมในรอบ 6 วันที่ผ่านมา • มีอุบัติเหตุเกิดขึ้น 83 ครั้ง ลดลงจากปีที่แล้ว 33 ครั้ง • มีผู้บาดเจ็บ 81 คน ลดลงจากปีที่แล้ว 47 คน (11,908,863) • มีผู้เสียชีวิต 11 คน เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว 1 คน (53.2ล้านบาท) • ยานพาหนะที่เกิดอุบัติเหตุสูงสุดยังคงเป็นรถจักรยานยนต์ • สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุส่วนใหญ่มาจากการเมาสุรา ขับรถเร็วเกินกำหนด และตัดหน้ากระชั้นชิด โดยศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จ.เชียงใหม่ รายงานสถิติอุบัติเหตุ จ.เชียงใหม่

  31. ความสูญเสียทางเศรษฐกิจความสูญเสียทางเศรษฐกิจ อุบัติเหตุทางถนนก่อให้เกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจ เท่ากับ 232,855 ล้านบาท/ปี มูลค่าความสูญเสียต่อคน ... • ตาย = 5.32 ล้านบาท/คน • พิการ = 6.17 ล้านบาท/คน • บาดเจ็บสาหัส = 147,023 บาท/คน • บาดเจ็บเล็กน้อย = 34,761 บาท/คน ที่มา : สำนักอำนวยความปลอดภัย กรมทางหลวง ปี 2550

  32. มีผู้ถูกดำเนินคดีตามมาตรการ 3 ม. 2 ข. 1 ร. รวม 61,052 ราย • ไม่มีใบขับขี่ 17,245 ราย • ไม่สวมหมวกนิรภัย 15,023 ราย

  33. สาเหตุหลักที่ก่อให้เกิดความสูญเสียจาก อุบัติเหตุทางถนนสูงสุด ขับขี่เร็ว เมาแล้วขับ ไม่สวมหมวกกันน็อก ตาย/บาดเจ็บสาหัส/พิการ/ถูกจับ รถจักรยานยนต์เป็นพาหนะที่เกิดอุบัติเหตุมากที่สุด พบร้อยละ 80

  34. มูลนิธิเมาไม่ขับ เครือข่ายเหยื่อเมาแล้วขับจังหวัดเชียงใหม่ศูนย์ประสานงานโรงพยาบาลนครพิงค์เชียงใหม่

More Related