1 / 32

ความเป็นมาของสถาบัน

สถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน Learning Institute For Everyone โครงการมหาวิทยาลัยชีวิต ศูนย์การเรียนรู้เพื่อปวงชนสุรินทร์ (ศรป.สุรินทร์) ศูนย์เรียนรู้ของชุมชนเครือข่ายมหาวิทยาลัยชีวิต ( ศรช.พรหมสุรินทร์) ที่ตั้ง ณ โรงเรียนบวรธรรมประยุตวิทยา วัดพรหมสุรินทร์ อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ 32000.

Download Presentation

ความเป็นมาของสถาบัน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชนLearning Institute For Everyoneโครงการมหาวิทยาลัยชีวิตศูนย์การเรียนรู้เพื่อปวงชนสุรินทร์ (ศรป.สุรินทร์)ศูนย์เรียนรู้ของชุมชนเครือข่ายมหาวิทยาลัยชีวิต (ศรช.พรหมสุรินทร์)ที่ตั้ง ณ โรงเรียนบวรธรรมประยุตวิทยาวัดพรหมสุรินทร์ อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ 32000

  2. ความเป็นมาของสถาบัน • เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ได้รับการอนุมัติจัดตั้งจากกระทรวงศึกษาธิการ วันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๓ เพื่อจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษา ทุกระดับ • มูลนิธิสถาบันส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน เป็นผู้ริเริ่ม และเป็นเจ้าของผู้ยื่นจดทะเบียน • ได้รับการสนับสนุนจาก ศาสตราจารย์นายแพทย์ประเวศ วะสี และ ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม ร่วมเชิญอีก ๓ องค์กรมาร่วมงาน คือ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธกส.) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) รวม ๔ องค์กร ร่วมก่อตั้งสถาบันส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน ปี ๒๕๔๕ และจดทะเบียนเป็นมูลนิธิ ปี ๒๕๔๙

  3. ข้อมูลนักศึกษาของสถาบันข้อมูลนักศึกษาของสถาบัน • นักศึกษามหาวิทยาลัยชีวิต ส่วนใหญ่อายุ ๒๐-๘๐ ปี • มีคนเรียนจบทั้งระดับปริญญาตรีและโท ทั่วประเทศประมาณ ๙,๐๐๐ คน • เป็นเกษตรกร สมาชิก เทศบาล อบจ. อบต. กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน พนักงานบริษัท เจ้าหน้าที่ของรัฐ ทำงานในสถานีอนามัย และโรงพยาบาล ตลอดจนนักธุรกิจพ่อบ้าน แม่บ้าน คนขายของในตลาด และเกษตรกร เป็นต้น • ได้นำเอา วิธีคิด-วิธีปฏิบัติ-วิธีให้คุณค่า และ วิธีการเรียนรู้ ที่ได้ไปใช้สร้างความรู้ใหม่ เพื่อก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงตัวเอง ชุมชน มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นทุกทาง

  4. วิสัยทัศน์ พันธกิจ วิสัยทัศน์ (vision) เป็นสถาบันอุดมศึกษาทางเลือกเพื่อชุมชน ที่จัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อให้ชุมชนเรียนรู้ ชุมชนเข้มแข็ง และให้ผู้เรียน สามารถอยู่อย่างมีศักดิ์ศรี และมีกินในท้องถิ่นของตนเองได้ พันธกิจ (mission) พัฒนาสถาบัน เพื่อจัดกระบวนการเรียนรู้ ที่สร้างพลังทางปัญญาในการขับเคลื่อนขบวนการประชาชนไปสู่สังคม ที่ผู้คนพึ่งพาตนเองได้ และมีความสุข

  5. คุณค่าหลัก (core values)

  6. ปณิธาน ๙ ข้อ ของนักศึกษาและอาจารย์

  7. ที่ตั้ง สถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน ศูนย์หลักตั้งอยู่ที่ ๑๓/๒ ม.๑ อำเภอ บางคนที จังหวัด สมุทรสงคราม โทรศัพท์ ๐๓๔-๗๕๗-๔๕๒-๙ โทรสาร ๐๓๔-๗๕๗-๔๖๐ www.life.ac.th

  8. ที่ตั้งศูนย์ • ศูนย์การเรียนรู้เพื่อปวงชน (ศรป.) จำนวน 39 ศรป รวม 59จังหวัด • ศูนย์เรียนรู้ของชุมชนเครือข่าย ม.ชีวิต (ศรช.) จำนวน 232ศรช.

  9. ที่ตั้งศูนย์

  10. ที่ตั้งศูนย์/ ผู้อำนวยการศูนย์

  11. นักศึกษาสถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชนต่างกับนักศึกษามหาวิทยาลัยทั่วไปอย่างไรนักศึกษาสถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชนต่างกับนักศึกษามหาวิทยาลัยทั่วไปอย่างไร • เรียนโดยเอาชีวิตเป็นตัวตั้ง ไม่ใช่เอาวิชาเป็นตัวตั้ง • อยู่อย่างมีศักดิ์ศรีและมีกินในท้องถิ่นตน • ชีวิตต้องดีขึ้นระหว่างเรียน และพบกับความสุขสงบในชีวิตมากขึ้น • การเรียนโดยเอาปัญหาในชีวิตจริงเป็นตัวตั้ง • อาจารย์เป็นผู้ช่วยจัดกระบวนการเรียนมากกว่าผู้ถ่ายทอดความรู้ • ผู้เรียนสร้างความรู้ใหม่ที่เป็นความรู้มือหนึ่ง • เรียนรู้ผ่านการปฏิบัติ โดยเรียนทฤษฏี 30 % ปฏิบัติ 70 % • ได้เรียนทั้งปริญญาบัตร และปริญญาชีวิต

  12. เรียนอย่างไร • เรียนกับอาจารย์ประจำวิชาโดยตรง และเรียนกับวิทยากรพิเศษ ผู้ทรงคุณวุฒิจากสาขาอาชีพต่าง ๆ ปราชญ์ชาวบ้าน หรือผู้รู้ในท้องถิ่น • เรียนทั้งการบรรยาย การค้นคว้าวิจัย การแสวงหาความรู้ด้วยการปฏิบัติ การทำกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้จริง • การไปศึกษาดูงานในพื้นที่หรือต่างพื้นที่ • เรียนจากสื่อ หนังสือ ซีดี อินเตอร์เน็ต

  13. เรียนที่ไหน • ระดับปริญญาตรี สาขาวิชา • สหวิทยาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น • การจัดการสุขภาพชุมชน, • การจัดการการเกษตรยั่งยืน ที่ศรช. พรหมสุรินทร์ ชุมพลบุรี รัตนบุรี ท่าตูม จอมพระ เขวาสินรินทร์ ศีขรภูมิ สนม/โนนารายณ์ สำโรงทาบ ศรีณรงค์ สังขะ ลำดวน ปราสาท /บัวเชด กาบเชิง/พนมดงรัก ระดับปริญญาโทสาขาวิชา (ยังไม่เปิดปีนี้) -สหวิทยาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น - การจัดการระบบสุขภาพชุมชนที่ ศรช. พรหมสุรินทร์

  14. เรียนได้อะไรบ้าง • ได้ปริญญาชีวิต สามารถพึ่งตนได้ • ได้ความสุข • ได้ความรู้จริง ซึ่งเป็นความรู้มือหนึ่ง • ได้เพื่อน • ได้ความคิด • ได้วิธีการเรียนรู้ • ได้แรงบันดาลใจ • ได้รับปริญญาบัตร ศิลปศาสตรบัณฑิต (สำหรับ ระดับปริญญาตรี) • ได้รับปริญญาบัตร ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต ( สำหรับ ระดับปริญญาโท)

  15. ประกอบอาชีพอะไรได้บ้างประกอบอาชีพอะไรได้บ้าง • พนักงานองค์กรเอกชน และองค์กรพัฒนาเอกชน (NGO) • ประกอบอาชีพอิสระ • ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้นำชุมชนและวิทยากร • นักวิจัยของหน่วยงาน/องค์กรต่าง ๆ • พนักงานส่วนท้องถิ่น/สมาชิกสภา อบต. เทศบาล และอบจ. • พนักงานบริษัทเอกชน • อาชีพอื่น ๆ

  16. หลักสูตรที่เปิดสอน หลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต ระดับปริญญาตรี 3 ปี ( 9 เทอม ) • สาขาวิชา สหวิทยาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น • สาขาวิชา การจัดการสุขภาพชุมชน • สาขาวิชา การจัดการการเกษตรยั่งยืน • หลักสูตร ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต ระดับปริญญาโท 2 ปี ( 4 เทอม) • สาขาวิชา สหวิทยาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น • สาขาวิชา การจัดการระบบสุขภาพชุมชน (ยังไม่เปิดปีนี้)

  17. คุณสมบัติของนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการสุขภาพชุมชน (ปริญญาตรี)ศูนย์เรียนรู้ของชุมชนเครือข่ายมหาวิทยาลัย (ศรช.พรหมสุรินทร์)

  18. หลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต • ระดับปริญญาตรี 3 ปี (9 เทอม) • สาขาวิชา สหวิทยาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น • สาขาวิชา การจัดการสุขภาพชุมชน • สาขาวิชา การจัดการเกษตรยั่งยืน วิชาพื้นฐาน 30 หน่วยกิต ( 10 วิชา ) วิชาเฉพาะของหลักสูตร 84 หน่วยกิต ( 28 วิชา ) วิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต ( 2 วิชา ) รวมทั้งหมด 120 หน่วยกิต ( 40 วิชา )

  19. ปริญญาตรี เรียนอะไร • ประกอบด้วย 3 กลุ่มวิชา คือ กลุ่มวิชาการปรับวิธีคิด กลุ่มวิชาการจัดการชีวิต กลุ่มวิชาการจัดการชุมชนในด้านต่าง ๆ

  20. เนื้อหาหลักสูตรปริญญาตรี สาขาวิชาการจัดการสุขภาพชุมชน

  21. เนื้อหาหลักสูตร ปริญญาตรี สาขาวิชาการจัดการสุขภาพชุมชน

  22. เนื้อหาหลักสูตรปริญญาตรี สาขาวิชาการจัดการสุขภาพชุมชน

  23. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิตหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต • ระดับปริญญาโท 2 ปี 4 เทอม(ยังไม่เปิดปีนี้) • สาขาวิชา สหวิทยาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น • สาขาวิชา การจัดการระบบสุขภาพชุมชน วิชาพื้นฐาน 9 หน่วยกิต ( 3 วิชา ) วิชาเฉพาะของหลักสูตร 19 หน่วยกิต ( 7 วิชา ) วิชาเลือกเสรี 2 หน่วยกิต ( 1 วิชา ) การค้นคว้าอิสระ 6 หน่วยกิต รวม ตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต ( ๑๒ วิชา )

  24. เนื้อหาหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการสุขภาพชุมชน (แผน ก)

  25. เนื้อหาหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการสุขภาพชุมชน (แผน ข)

  26. ค่าเล่าเรียน ระดับปริญญาตรี ทั้งหมด 9 เทอม ไม่รวมอัตราค่าธรรมเนียมพิเศษอื่น ๆ เหมาจ่ายตลอดหลักสูตร 81,000 บาท โดยแบ่งชำระเป็นรายเทอม เทอมละ 9,000 บาท ระดับปริญญาโท ทั้งหมด 4 เทอม (ยังไม่เปิดปีนี้) เหมาจ่ายตลอดหลักสูตร 120,000 บาท โดยแบ่งชำระเป็นรายเทอม เทอมละ 30,000บาท

  27. เอกสารหลักฐานประกอบการสมัครเอกสารหลักฐานประกอบการสมัคร

  28. การรับสมัคร • เปิดรับสมัครตั้งแต่บัดนี้ – 30 พฤษภาคม 2555 • ค่าสมัครสอบ ระดับปริญญาตรี 700 บาท ระดับปริญญาโท 1,100 บาท (ยังไม่เปิดรับปีนี้) • ติดต่อสมัคร และสอบถาม ได้ที่ • เบอร์กลาง โทร 088 - 3568271 อ. แต้ม โทร. 081- 3934739 อ. อุ้ย โทร. 085 - 0160633 อีเมล์ : wity_lm@hotmail.com

  29. กำหนดการรับสมัครและการสอบของ ศรช.พรหมสุรินทร์ หมายเหตุ เลือกสอบหนึ่งวันตามความสะดวก โทรแจ้งเจ้าหน้าที่ล่วงหน้า

  30. คำชี้แจงเพิ่มเติมก่อนการตัดสินใจเรียนคำชี้แจงเพิ่มเติมก่อนการตัดสินใจเรียน • หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ปริญญาตรี) สาขาวิชาการจัดการสุขภาพชุมชน นี้ ได้รับการอนุมัติหลักสูตรจาก สกอ. ในวันที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๕๔ เฉพาะที่ตั้งในสถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน จ.สมุทรสงคราม เรียบร้อยแล้ว อยู่ในช่วงดำเนินการของ สกอ. ส่งหลักสูตรให้ กพ. ตีค่า • จากการสัมภาษณ์ท่าน รศ ดร.เสรี พงศ์พิศ อธิการบดี สถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน ในวันที่ ๒๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ ได้รับการยืนยันว่า สำหรับศูนย์ ศรป/ศรช ที่อยู่นอกจังหวัดสมุทรสงครามนั้น ทางสถาบันกำลังประสานงาน และดำเนินการ เพื่อให้ได้รับการยอมรับหลักสูตรจาก สกอ. โดยต้องทำการสอนควบคู่ไปด้วย เพื่อที่ สกอ.จะได้ประเมินผลได้ อย่างไรก็ตาม สภาสถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน ยังไม่สามารถคาดการณ์ผลที่เกิดในภายหน้าได้ ขึ้นอยู่กับการตรวจคุณภาพของศูนย์ ศรป. นั้น ๆ

  31. คำชี้แจงเพิ่มเติมก่อนการตัดสินใจเรียน (ต่อ) • ดังนั้น การสมัครเรียนหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ปริญญาตรี) สาขาวิชาการจัดการสุขภาพชุมชน ณ ศูนย์เรียนรู้เครือข่ายมหาวิทยาลัยชีวิต จึงเป็นความสมัครใจของท่านผู้เรียนเอง • ถ้าหลังเรียนแล้ว หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ปริญญาตรี) สาขาวิชาการจัดการสุขภาพชุมชน ยังคงไม่ได้รับการอนุมัติ หรือ ให้ความเห็นชอบ หลักสูตรจาก สกอ. ผู้เรียนและผู้เกี่ยวข้องจะไม่ฟ้องร้อง หรือเรียกร้องค่าเสียหายใดๆ กับทาง ศูนย์เรียนรู้ของชุมชนเครือข่ายมหาวิทยาลัยพรหมสุรินทร์ หรือศูนย์การเรียนรู้เพื่อปวงชนสุรินทร์ และสถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน แต่อย่างใด.

More Related