1 / 11

Communities of Practice (CoP)

Communities of Practice (CoP). ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge). อธิบายได้ แต่ยังไม่ถูกนำไปบันทึก. ( 1 ). อธิบายไม่ได้. อธิบายได้ แต่ไม่อยากอธิบาย. ( 2 ). ( 3 ). ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge). Tomohiro Takanashi. Communities of Practice (CoP).

grady
Download Presentation

Communities of Practice (CoP)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Communities of Practice (CoP)

  2. ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) อธิบายได้ แต่ยังไม่ถูกนำไปบันทึก ( 1 ) อธิบายไม่ได้ อธิบายได้ แต่ไม่อยากอธิบาย ( 2 ) ( 3 ) ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) Tomohiro Takanashi

  3. Communities of Practice (CoP) “กลุ่มคนที่มีความสนใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่งร่วมกัน มารวมตัวกันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้วยความสมัครใจ เพื่อร่วมสร้างความเข้าใจหรือพัฒนาแนวปฏิบัติในเรื่องนั้น”

  4. CoP กลุ่มคน ประเด็น /หัวข้อ / สาระ Communities of Practice เป็นเครื่องมือที่ทำให้คนในองค์กร มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตลอดเวลา จนกลายเป็นวัฒนธรรมขององค์กร • ความปรารถนาร่วมกัน • สนใจร่วมกัน • มีปัญหาร่วมกัน • เอื้ออาทร • ช่วยเหลือกัน • ร่วมแก้ไขปัญหา ลักษณะ CoP • แก้ปัญหา / แลกเปลี่ยนแนวคิด • พัฒนา/เผยแพร่แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ • ยกระดับ/พัฒนาความรู้ที่ใช้เป็นประจำ • Innovation

  5. สมาชิก CoP ประกอบด้วย • Sponsor • ผู้บริหารที่เห็นความสำคัญและให้การสนับสนุนตามเป้าหมายองค์กร • 2. Facilitator • 3. Historian • 4. Member • ผู้ปฏิบัติงานหรือมีความรู้ในเรื่องที่แลกเปลี่ยน

  6. Facilitator • มีความรู้ในเรื่องนั้น • สร้างบรรยากาศที่เป็นกันเอง ไว้ใจกัน เพื่อเอื้อต่อการ Sharing • บริหารเวลา คนและกระบวนการ CoP ให้บรรลุวัตถุประสงค์ • จุดประกาย กระตุ้น สนับสนุนและให้กำลังใจความคิดดีๆ ให้สมาชิกเล่าประสบการณ์ • ตั้งคำถาม วิเคราะห์ ถามเจาะลึก สรุปประเด็นเพื่อค้นหาความรู้ฝังลึกของสมาชิก

  7. Historian • มีความรู้ในเรื่องที่บันทึก • จับประเด็นได้รวดเร็ว ในเวลาจำกัด • ใช้ภาษาที่สื่อสารตรงกับความรู้สึกหรือเรื่องที่เล่า สละสลวย • สามารถถามย้อนกลับ เพื่อทวนความเข้าใจที่ถูกต้อง • สรุปประเด็นหลักหลังการประชุมทันที

  8. กติกา CoP • ใช้ระยะเวลาประมาณ 1 ชั่วโมง • สมาชิกทุกคนมีประสบการณ์ในเรื่องนั้น • ทุกคนเท่ากัน “ไม่มีนาย ไม่มีลูกน้อง” • พูดในเชิงบวก พูดให้ทุกคนในวงเสวนาฟัง • ไม่มีการโต้ตอบ ไม่ตัดสินใจ • สมาชิกเป็นนักฟังที่ดี ไม่คุยกับเพื่อนข้างๆ • จำนวนสมาชิกไม่เกิน 20 คน หากเกินให้แลกเปลี่ยนหรือติดตามผ่าน KM Web

  9. ปัญหาที่มักพบในการเขียนโครงการปัญหาที่มักพบในการเขียนโครงการ

  10. การบริหารจัดการโครงการการบริหารจัดการโครงการ • เทคนิคการเขียนโครงการที่ดี • เทคนิคการนำเสนอโครงการ • การวิเคราะห์โครงการ • การบริหารความเสี่ยง (Risk Management) • การบริหารจัดการโครงการ 5.1 เทคนิคการจัดทำ Action Plan 5.2 เทคนิคการติดตามประเมินผล 5.3 เทคนิคการจัดทำรายงาน

  11. แนะนำตัวเอง / ใครเคยทำโครงการใดบ้าง • เกริ่น “ทำไมต้องทำ CoP การบริหารโครงการ” • ใครมีประสบการณ์ ว่าการบริหารโครงการนั้นต้องทำอะไรบ้าง มาเล่าให้เพื่อนสมาชิกฟัง • ในการปฏิบัติจริง พวกเราพบปัญหาอะไรบ้างในการบริหารโครงการ • ประเด็นนี้น่าสนใจ ช่วยขยายความ • หมายถึงอะไร (เขียนโครงการ : • นำเสนอ (ข้อมูลใดต้องนำเสนอ/ ไม่ต้องเสนอ , เอกสารนำเสนอต้องมีอะไรบ้าง) • บริหารโครงการ (ระยะเวลาไม่เป็นไปตามกำหนด, บริหารงบอย่างไร) • ติดตามผล (แบ่งหน้าที่ในการติดตามงานอย่างไร, บทบาทของผู้ติดตามงาน, จะมีวิธีการรายงานผลอย่างไร)

More Related