1 / 47

กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. โดย ดร.พิสิฐ ลี้อาธรรม คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ 19 มิถุนายน 2556 ณ ห้องประชุม คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เหตุผลและความจำเป็นของการก่อตั้ง กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ. ระบบครอบครัวในสังคมเมือง ประสบการณ์ของตะวันตก อายุยืนยาวมากขึ้น

Download Presentation

กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพมหาวิทยาลัยเชียงใหม่กองทุนสำรองเลี้ยงชีพมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย ดร.พิสิฐ ลี้อาธรรม คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ 19 มิถุนายน 2556 ณ ห้องประชุม คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

  2. เหตุผลและความจำเป็นของการก่อตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพเหตุผลและความจำเป็นของการก่อตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ • ระบบครอบครัวในสังคมเมือง ประสบการณ์ของตะวันตก • อายุยืนยาวมากขึ้น • การพัฒนาตลาดทุน และการออมระยะยาว • ระบบบำนาญและการบริหารการคลัง • การจัดระบบการออมแกมบังคับ

  3. เงินออมเพื่อใช้ยามชราเงินออมเพื่อใช้ยามชรา • กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ • กองทุนประกันสังคม • กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ Pension Funds ในประเทศต่างๆมีการลงทุนข้ามประเทศก่อให้เกิด International Capital Flows

  4. แหล่งเงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพแหล่งเงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ เงินที่จ่ายเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ • เงินสะสม จากลูกจ้าง • เงินสมทบ จากนายจ้าง • ผลประโยชน์ตอบแทนการลงทุน เป็นนิติบุคคลแยกจากนายจ้างโดยเด็ดขาด ดูแลโดยผู้จัดการกองทุนที่มีความรู้ความสามารถทางด้านการลงทุน

  5. การจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพเกิดจากความสมัครใจของทั้งสองฝ่ายการจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพเกิดจากความสมัครใจของทั้งสองฝ่าย • นายจ้าง และ ลูกจ้าง คณะกรรมการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

  6. กองทุนเดี่ยว

  7. การจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพเกิดจากความสมัครใจของทั้งสองฝ่ายการจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพเกิดจากความสมัครใจของทั้งสองฝ่าย • นายจ้าง และ ลูกจ้าง คณะกรรมการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ • บริษัทจัดการกองทุน ทำหน้าที่บริหารเงินให้เกิดผลประโยชน์ • ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต • การกำกับโดย สำนักงาน คณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

  8. นายจ้าง ลูกจ้าง คณะกรรมการกองทุน บริษัทจัดการ ผู้สอบบัญชี กลต ผู้รับฝากบัญชี ผู้รับรองมูลค่า นายทะเบียนสมาชิก โครงสร้างของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

  9. กองทุนเดี่ยว

  10. รูปแบบกองทุน • Single Fund (กองทุนเดี่ยว) • Pooled Fund (กองทุนร่วม)

  11. กองทุนร่วม

  12. กองทุนเดี่ยว และกองทุนร่วม

  13. ข้อแตกต่างระหว่างรูปแบบกองทุนข้อแตกต่างระหว่างรูปแบบกองทุน

  14. ค่าใช้จ่ายของการจัดการกองทุนค่าใช้จ่ายของการจัดการกองทุน • ค่าธรรมเนียมการจัดการ • ค่าธรรมเนียมผู้รับฝากทรัพย์สิน อิงตามมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุน • ค่าทะเบียนสมาชิก • ค่าผู้สอบบัญชี

  15. การบริหารกองทุน และรายงานผลการดำเนินงาน • สามารถเลือกได้ตามความเหมาะสม (Employee’s choice) • สามารถรับทราบเงินสะสม เงินสมทบ และผลประโยชน์ที่ตนได้รับ ปีละ 2 ครั้ง

  16. สิ่งที่สมาชิกควรทราบเพิ่มเติมสิ่งที่สมาชิกควรทราบเพิ่มเติม • ใครเป็นกรรมการกองทุนในที่ทำงานของคุณ เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้ • ใครเป็นผู้จัดการกองทุน (บริษัทจัดการ) ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ • นโยบายการลงทุนของกองทุนเป็นอย่างไร ปัจจุบันกองทุนลงทุนในอะไรบ้าง • มีความเสี่ยงอะไรที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนของกองทุนบ้าง

  17. สิทธิประโยชน์ทางภาษี 3E • หักลดหย่อนตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกินปีละ 10,000 บาท สำหรับส่วนที่เกิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 15% ของค่าจ้าง และไม่เกิน 490,000 บาท รวมหักได้สูงสุด 500,000 บาท • เงินสมทบที่นายจ้างจ่ายเข้ากองทุน ถือเป็นรายจ่ายของนายจ้างในการคำนวณกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีตามจำนวนที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 15% ของค่าจ้าง • ดอกเบี้ย เงินปันผล และกำไรจากการขายหลักทรัพย์ ได้รับยกเว้นภาษี

  18. ลาออกก่อนเกษียณอายุราชการลาออกก่อนเกษียณอายุราชการ หากสมาชิกมีระยะเวลาการทำงานน้อยกว่า 5 ปี ต้องนำไปคำนวณภาษีทั้งจำนวน ระยะเวลาทำงานตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป สามารถเลือกเสียภาษีแยกต่างหากจากเงินได้ประเภทอื่น โดยหักค่าใช้จ่ายได้ 7,000 บาท คูณด้วยจำนวนปีที่ทำงาน เหลือเท่าไรหักได้อีกครึ่งหนึ่ง แล้วคำนวณภาษีตามอัตราภาษีทั่วไป จำนวนวันทำงานตั้งแต่ 183 วันนับเป้น 1 ปี น้อยกว่าปัดทิ้ง เกษียณอายุราชการ หากอายุ 55 ปีขึ้นไป และมีระยะเวลาเข้ากองทุนตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป เงินที่ได้จากกองทุนจะได้รับการยกเว้นภาษีทั้งหมด หากอายุไม่ถึง 55 ปี หรือเข้ากองทุนไม่ถึง 5 ปีขึ้นไปให้คำนวณเช่นเดียวกับการลาออกก่อนเกษียณอายุราชการ สิทธิประโยชน์ทางภาษี (เมื่อสิ้นสุดสมาชิกภาพ)

  19. 3 Exemptions (3E) • เงินสะสม จ่ายเข้า ไม่ต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา • เงินผลประโยชน์จากการลงทุน ไม่ต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา • เงินกองทุนที่ได้จากเงินสะสม เงินสมทบ และเงินผลประโยชน์ หากเป็นไปตามเงื่อนไข ไม่ต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

  20. สรุป ภาระภาษี

  21. การเลือกแบบแผนการลงทุนการเลือกแบบแผนการลงทุน • อายุการทำงานที่เหลือ • ความเสี่ยง • ความต้องการใช้เงิน และแผนการใช้ชีวิตหลังเกษียณ

  22. 6 รูปแบบ แบบระวัง แบบโลดโผน แบบ 4 =แบบ 3 แต่มีหุ้นเพิ่ม เป็น 25% แบบ 5= แบบ 4 แต่มีการลงทุนต่างประเทศปนหุ้น แบบ 6= หุ้น 100% • แบบ1 =ตราสารหนี้ภาครัฐและสถาบันการเงิน 100% • แบบ 2 =แบบ1 + ตราสารหนี้เอกชน • แบบ 3 =แบบ2 +หุ้น10%

  23. แบบ 1(ตราสารหนี้ระยะสั้นภาครัฐ สถาบันการเงิน)

  24. K Master Pooled Fund (ตราสารหนี้) แบบ 2

  25. แบบ 3 K Master Pooled Fund (ผสมหุ้นไม่เกิน 10%)

  26. แบบ 4 K Master Pooled Fund (ผสมหุ้นไม่เกิน 25%)

  27. แบบ 5 (ผสมหุ้น และ FIF ไม่เกิน 25%)

  28. แบบ 6 ตราสารทุน

  29. 6 รูปแบบ: ผลตอบแทนการลงทุน Q1 2556 แบบระวัง แบบโลดโผน แบบ 4: 3.68% แบบ 5: 2.57% แบบ 6: 12.15% • แบบ1 : 0.62% • แบบ2 : 0.71% • แบบ3 : 1.54%

  30. การลงทุนในหุ้นมีความเสี่ยงต่อความผันผวนการลงทุนในหุ้นมีความเสี่ยงต่อความผันผวน • ดัชนี ตลาด เพิ่มสูง ถึง 1631 เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2556 ลดลงเหลือ 1403 เมื่อ 13 มิถุนายน แต่เมื่อวานลงมาเหลือ 1427 • หากเข้าไปผิดจังหวะอาจจะขาดทุนระยะสั้น

  31. SET TRI (2002-2013)

  32. SET TRI • ดัชนีผลตอบแทนรวม คือ การคำนวณผลตอบแทนทุกประเภทของการลงทุนในหลักทรัพย์ให้สะท้อนออกมาในค่าดัชนี ทั้งผลตอบแทนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าหลักทรัพย์ที่ลงทุน (Capital gain/loss) สิทธิในการจองซื้อหุ้น (Rights) ซึ่งเป็นสิทธิที่ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมในการซื้อหุ้นเพิ่มทุน ซึ่งมักจะให้สิทธิซื้อในราคาที่ต่ำกว่าราคาตลาด ณ ขณะนั้น และเงินปันผล (Dividends) ซึ่งเป็นส่วนแบ่งของกำไรที่จ่ายให้กับผู้ถือหุ้น โดยมีสมมติฐานเพิ่มเติมว่าเงินปันผลที่ได้รับนี้จะถูกนำไปลงทุนในหลักทรัพย์ด้วย (Reinvest)

  33. เริ่มเป็นสมาชิก แต่เนิ่นๆ จะได้ประโยชน์จากผลตอบแทนทบต้น • เริ่ม เป็นสมาชิก อายุ 30 ขวบจ่ายเข้า 398,746 บาทได้เงิน 1,555,487 บาท • เริ่ม เป็นสมาชิก อายุ 45 ขวบจ่ายเข้า 269,238.49 บาทได้เงิน 829,607 บาท

  34. ประเด็นอื่นๆ ที่น่าสนใจ • ความแตกต่างระหว่างเงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และกองทุนอื่นๆ • อายุราชการแบบไหนควรเปลี่ยนมาเลือกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ • ความเสี่ยงในการลงทุนกองทุนสำรองเลี้ยงชีพมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ • กองทุนสำรองเลี้ยงชีพมหาวิทยาลัยเชียงใหม่มีโอกาสล้มไหม

  35. Q&A

More Related