1 / 31

หลักการและแนวคิด การประเมินยุทธศาสตร์

วีระศักดิ์ พุทธาศรี 27 กุมภาพันธ์ 2557. International Health Policy Program -Thailand. หลักการและแนวคิด การประเมินยุทธศาสตร์. สถาบันพระบรมราชชนก. กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์. Strategic Formulation. Strategic Implementation. Strategic Control. การวิเคราะห์ วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์

Download Presentation

หลักการและแนวคิด การประเมินยุทธศาสตร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วีระศักดิ์ พุทธาศรี 27 กุมภาพันธ์ 2557 International Health Policy Program -Thailand หลักการและแนวคิดการประเมินยุทธศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก

  2. กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ Strategic Formulation Strategic Implementation Strategic Control • การวิเคราะห์ • วิสัยทัศน์ • ประเด็นยุทธศาสตร์ • เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด • ค่าเป้าหมาย • กลยุทธ์ • แผนปฏิบัติการ • กระบวนงาน • โครงสร้าง • เทคโนโลยี • บุคลากร • กำกับติดตามและประเมินผล การดำเนินงาน • ทบทวนสถานการณ์เพื่อปรับแต่งยุทธศาสตร์

  3. กระบวนการจัดทำยุทธศาสตร์กระบวนการจัดทำยุทธศาสตร์ ทบทวนวรรณกรรม/การวิเคราะห์ปัจจัยทางยุทธศาสตร์ จุดแข็งจุดอ่อนโอกาสภัยคุกคาม (SWOT) วิสัยทัศน์และเป้าประสงค์ (Ultimate goal) การกำหนดทิศทาง การวิเคราะห์ถึงประเด็นสำคัญที่จะต้องมุ่งเน้น / ให้ความสำคัญเพื่อที่จะบรรลุวิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issues) ผลลัพธ์ การกำหนดเป้าประสงค์ สำหรับแต่ละประเด็น เป้าประสงค์ (Goals) ผลผลิต ตัวชี้วัด (Key Performance Indicators) และเป้าหมาย (Target) การกำหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายของแต่ละเป้าประสงค์ กลยุทธ์ (Strategies) กิจกรรม การกำหนดกลยุทธ์หรือสิ่งที่จะทำเพื่อให้บรรลุเป้าประสงค์

  4. การประเมินผล (Evaluation) • เป็นกระบวนการที่มุ่งแสวงหาคำตอบว่านโยบาย/แผนงาน/ โครงการได้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์และเป้าประสงค์ที่กำหนดไว้หรือไม่และในระดับใด • เปรียบเทียบระหว่างวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้กับผลที่ปรากฏ โดยมีเกณฑ์หรือค่าเป้าหมายเป็นเครื่องมือใน การตัดสิน • ได้ข้อมูลที่ช่วยในการวางแผนหรือพัฒนาปรับปรุงการดำเนินงานให้มีคุณภาพตามมาตรฐานหรือเป้าหมายที่กำหนดไว้มากยิ่งขึ้น • ทราบถึงสภาพปัญหา อุปสรรค และข้อจำกัดต่างๆ ซึ่งเป็นประโยชน์ในการใช้ประกอบการตัดสินใจว่าควรมีการแก้ไขหรือผลักดันเพื่อให้การดำเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนดไว้ได้อย่างไร

  5. หลักการติดตามและประเมินผลยุทธศาสตร์หลักการติดตามและประเมินผลยุทธศาสตร์ • Policy dissemination: การถ่ายทอดยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติอาศัยการดึงองค์ประกอบของกลยุทธ์ (Strategy) ที่กำหนดไว้ไปเป็นเป้าหมายของการสร้างหรือออกแบบแผนงานในรายละเอียดต่อไป (Programming) • Policy implementation: มีการขยายผลไปสู่ระดับปฏิบัติสร้างเป็นแผนปฏิบัติ (Implementation plan) สำหรับหน่วยงานระดับปฏิบัติเพื่อให้เกิดผลผลิต (Output) และผลลัพธ์ (Outcome) • Feedback information: ข้อมูลป้อนกลับจากระดับล่างสู่ระดับที่สูงกว่า เพื่อให้สามารถปรับปรุงเปลี่ยนแปลงและแก้ไขแผนปฏิบัติการ แผนงานหรือแม้แต่กลยุทธ์ที่กำหนดไว้เดิม (Given strategy) ให้มีความเหมาะสมแก่สถานการณ์ที่เปลี่ยนไปได้ ทำให้เกิดเป็นกลยุทธ์ที่เกิดขึ้นใหม่ (Emerging strategy)

  6. การประเมินผลยุทธศาสตร์การประเมินผลยุทธศาสตร์ ทบทวนวรรณกรรม/การวิเคราะห์ปัจจัยทางยุทธศาสตร์ จุดแข็งจุดอ่อนโอกาสภัยคุกคาม (SWOT) วิสัยทัศน์และเป้าประสงค์ (Ultimate goal) การกำหนดทิศทาง การวิเคราะห์ถึงประเด็นสำคัญที่จะต้องมุ่งเน้น / ให้ความสำคัญเพื่อที่จะบรรลุวิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issues) ผลลัพธ์ การกำหนดเป้าประสงค์ สำหรับแต่ละประเด็น เป้าประสงค์ (Goals) ผลผลิต ตัวชี้วัด (Key Performance Indicators) และเป้าหมาย (Target) การกำหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายของแต่ละเป้าประสงค์ กลยุทธ์ (Strategies) กิจกรรม การกำหนดกลยุทธ์หรือสิ่งที่จะทำเพื่อให้บรรลุเป้าประสงค์

  7. กลยุทธ์สู่การปฏิบัติกิจกรรม/โครงการกลยุทธ์สู่การปฏิบัติกิจกรรม/โครงการ กิจกรรม/โครงการที่สอดคล้องยุทธศาตร์ ประเมินโครงการ ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย กลยุทธ์ ดำเนินโครงการ ติดตามโครงการ ดำเนินโครงการ

  8. ความสัมพันธ์ระหว่างวงจรโครงการกับการประเมินผลโครงการ การกำหนดโครงการ การประเมินก่อนการดำเนินงาน การวางแผนโครงการ การศึกษาความเป็นไปได้ ปัจจัยนำเข้า การดำเนินโครงการ กระบวนการ การประเมินขณะดำเนินการ ผลผลิต การประเมินเมื่อสิ้นสุดโครงการ ผลที่ตามมา/ผลกระทบ ผลกระทบในระยะยาว การประเมินผลหลังสิ้นสุด

  9. ประหยัด ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล หลักการประเมินผลโครงการแบบ RBM (Result Based Management) วัตถุประสงค์ ปัจจัยนำเข้า กิจกรรม ผลผลิต ผลลัพธ์

  10. ขั้นตอนของการประเมินผลโครงการขั้นตอนของการประเมินผลโครงการ • กำหนดวัตถุประสงค์ของการประเมิน • การเลือกวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดที่จะวัด • การเลือกเครื่องมือในการประเมิน และกระบวนการประเมิน • การเลือกกลุ่มตัวอย่าง • การเลือกเทคนิควิธีการวิเคราะห์ข้อมูล • การเขียนรายงานสรุป และข้อเสนอแนะ

  11. การกำหนดยุทธศาสตร์ในระดับต่างๆ ยุทธศาสตร์ระดับกระทรวง ยุทธศาสตร์ระดับกรม กลยุทธ์ระดับกอง กลยุทธ์ระดับจังหวัด

  12. ข้อจำกัดและข้อควรระวังข้อจำกัดและข้อควรระวัง • มีบางแผนงาน/โครงการขาดเป้าหมายที่ชัดเจน เป้าหมายมีความคลุมเครือ ยากแก่การกำหนดความสำเร็จ รวมทั้งโครงการไม่มีความสอดคล้องกับแผนงาน/แผนยุทธศาสตร์ • โครงการ/กิจกรรมใดไม่สามารถเคลื่อนไปสู่เป้าหมายตามที่กำหนดไว้ จึงจำเป็นต้องหาผลที่ไม่คาดหวังที่เกิดขึ้นจากการดำเนินโครงการ • โครงการมีการดำเนินกิจกรรมในหลายส่วน แต่ขาดการระบุความสำเร็จเชิงเป้าหมาย ทำให้ข้อมูลที่ได้รับอาจชี้แต่เพียงอุปสรรค ความล้มเหลว • บางครั้งมักจะมองแต่เพียงความสำเร็จของโครงการ โดยมิได้มองความล้มเหลวหรืออุปสรรคที่เกิดขึ้น ทำให้ขาดข้อมูลสำคัญในการยกระดับโครงการหรือการวางแผนการพัฒนา

  13. บรรลุวัตถุประสงค์ ผลผลิตของโครงการ PRODUCT เพราะอะไร จะแก้ไขอย่างไร ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ เป็นไปตามแผน การดำเนินงาน PROCESS มีปัจจัยอะไร ปรับปรุงอย่างไร ไม่เป็นไปตามแผน ได้ตามแผน ปัจจัยนำเข้า INPUT มีเหตุผลอะไร จะแก้ไขอย่างไร ไม่ได้ตามแผน ได้จัดเตรียม บริบทของโครงการ CONTEXT มีเพราะเหตุใด จะทำอย่างไร ไม่ได้จัดเตรียม

  14. ตัวอย่างประเด็น การกำกับติดตามประเมินผลนโยบาย/ยุทธศาสตร์

  15. กรอบการติดตามและประเมินผลนโยบาย รพสต • ประเมินการรับรู้ การแปรยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ • การกำนดนโยบาย, การถ่ายทอด, การรับรู้,กระบวนการ การสนับสนุนตามนโยบาย • ประเมินการปรับบทบาท/องค์กร/หน้าที่ตามยุทธศาสตร์ • กายภาพและเครื่องมือ, งบประมาณ, คณะกรรมการ, กลไกประสานงาน, เกณฑ์ประเมินผล, การรายงานผล • ประเมินการทำงาน/การปฏิบัติ • ประเมินผลผลิตและผลลัพธ์ • ประเมินผลกระทบอื่นๆ

  16. กรอบการประเมินนโยบายการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคกรอบการประเมินนโยบายการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค • แนวคิด/หลักการ/กลไกในการพัฒนายุทธศาสตร์/แผนงาน/เป้าหมาย • กระบวนการในการพัฒนายุทธศาสตร์ เป็นไปเพื่อตอบสนองการแก้ปัญหาและสอดคล้องกับบริบท • โครงสร้างและกลไกการอภิบาลในแต่ละระดับที่เชื่อมโยงกัน • โครงสร้างและระบบงานระดับพื้นที่ เพื่อการบรรลุเป้าประสงค์ด้านสุขภาพ (โครงสร้างและกลไก แผนและเป้าหมาย การจัดสรรทรัพยากร การสนับสนุนด้านวิชาการ/อื่นๆ การติดตามกำกับ และการประเมินผล) • การรับรู้บทบาทของหน่วยงาน ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ให้บรรลุเป้าประสงค์ • กลไกการประสานระหว่างหน่วยงานต่างสังกัด • โครงสร้างและกลไกตามพันธกิจในแต่ละระดับ เครื่องมือและทรัพยากรในการบริหารจัดการระบบและดำเนินงานเช่น ระบบข้อมูล การบริหารบุคคล งบประมาณในการพัฒนาบุคลากรและติดตามกำกับ • ประสิทธิผลและกระบวนการในการดำเนินงาน

  17. โครงการประเมินผลแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๐ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๐ พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๔ (ตัวอย่าง)

  18. ขอบเขตการประเมินยุทธศาสตร์ขอบเขตการประเมินยุทธศาสตร์ การศึกษาได้ให้ความสำคัญต่อกระบวนการในการเชื่อมโยงปัญหาและข้อมูลสถานการณ์ของระบบสาธารณสุข ไปสู่ข้อสมมติที่เป็นพื้นฐานของการวางยุทธศาสตร์ เพื่อกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนา นโยบาย/แผนงาน/ โครงการได้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์และเป้าประสงค์ที่กำหนดไว้หรือไม่และในระดับใด โดย เปรียบเทียบระหว่างวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้กับผลที่ปรากฏ โดยมีเกณฑ์หรือค่าเป้าหมายเป็นเครื่องมือใน การตัดสิน เพื่อให้เกิดผลงาน (Output) และผลลัพธ์ (Outcome) ที่ได้มุ่งหวังไว้ มากกว่าการประเมินผลการบรรลุถึงเป้าหมาย

  19. ความคาดหวังจากผลการศึกษาความคาดหวังจากผลการศึกษา • Context and assumption: สถานการณ์และแนวโน้มการเปลี่ยนแปลง ในการพัฒนาสุขภาพตามแผนพัฒนาสุขภาพฯ ฉบับที่ ๑๐ (พ.ศ.๒๕๕๐-๒๕๕๔) จากยุทธศาสตร์การพัฒนา • Policy implementation: โดยประเมินรายละเอียดสาระสำคัญของยุทธศาสตร์ (Strategic Content) การพัฒนางานสาธารณสุข และ ประเมินกระบวนการพัฒนาของยุทธศาสตร์การพัฒนา (Strategic Process)เพื่อหาสิ่งที่ขาดหายไป (Missing) และสิ่งที่ไม่สอดคล้อง (Mismatch) ในแต่ละแผนงาน/โครงการ • Output and Outcome: ทราบผลสัมฤทธิ์ของยุทธศาสตร์การพัฒนาที่ใช้ในการพัฒนางานสาธารณสุข และทราบถึงจุดแข็ง จุดอ่อน ของแต่ละยุทธศาสตร์

  20. ระเบียบวิธีวิจัย การสัมภาษณ์ผู้บริหารระดับสูงในกระทรวงสาธารณสุข การทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการประเมินผลแผนพัฒนาฯ การสอบถามการดำเนินงานของ องค์กรหลักด้านสุขภาพ การประเมินการใช้ดัชนีชี้วัดการประเมินผลแผนพัฒนาฯ การวางระบบประเมินผลแผนพัฒนาสุขภาพ ฉบับที่ 10 ภาพรวมการปฏิบัติเกี่ยวกับการประเมินผลแผนพัฒนาสุขภาพ ฉบับที่ 10 ปัจจัยที่มีผลเป็นปัญหาและอุปสรรคของการกำกับ ติดตาม และประเมินผลแผนพัฒนาโดยเฉพาะประเด็นด้านยุทธศาสตร์ ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่างๆเกี่ยวกับการประเมินผลแผนพัฒนาแผนพัฒนาสุขภาพ ฉบับที่ 10

  21. Conceptual Frame If not,…why? Assumption Strategies Given / Emerging Programming Approach / Deployment Implementation Approach / Deployment / Result Output Result Outcome Result

  22. วิธีการและข้อมูล

  23. ข้อค้นพบประเด็นการถ่ายทอดยุทธศาสาตร์ข้อค้นพบประเด็นการถ่ายทอดยุทธศาสาตร์ ๑. การมี Assumption คลุมเครือทำให้การสร้างความเห็นพ้องใน Strategies ระหว่างภาคีที่เกี่ยวข้องเป็นไปได้ยาก และกระทบไปถึงปัญหาความร่วมมือในการทำงาน สาเหตุจาก • - การขาดความรู้/ข้อมูลที่ชัดเจนเกี่ยวกับสถานการณ์ มาตรการ และทางเลือกในการแก้ปัญหา • การแบ่งแยกผู้รับผิดชอบการเขียนเอกสารแผนพัฒนาสุขภาพ แผนปฏิบัติราชการ แผนงบประมาณระดับกรมโดยขาดการบูรณาการทำความเข้าใจร่วมกัน/ขาดการประสานงาน/ขาดการบรรณาธิการต้นฉบับสุดท้าย • - การขาดเอกภาพทางความคิดในบรรดาหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการวางแผน

  24. ข้อค้นพบประเด็นการถ่ายทอดยุทธศาสาตร์ข้อค้นพบประเด็นการถ่ายทอดยุทธศาสาตร์ ๒. แผนพัฒนาฯ มีการใช้เฉพาะในส่วนของกระทรวงสาธารณสุขเท่านั้น ไม่ใช่แผนพัฒนาสุขภาพของชาติอย่างแท้จริง เนื่องจากไม่มีการสื่อสารเพื่อให้เกิดความเข้าใจร่วมกันหลังจากวางแผนเสร็จสิ้น ๓. การวางแผนยุทธศาสตร์ของการพัฒนาขาดความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์และยุทธวิธีของแผนปฏิบัติราชการ แผนงบประมาณ ๔. การผลักดันให้มีการดำเนินการตามแผนพัฒนาฯ (Implementation) ไม่มีรูปแบบที่ชัดเจน ไม่เป็นระบบที่ต่อเนื่อง ขาดผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน ๕. ระบบและกลไกการนำแผนพัฒนาด้านสาธารณสุขสู่การปฏิบัติขาดความเป็นรูปธรรม ๖. ระบบและกระบวนการในการจัดสรรและใช้งบประมาณ ไม่สัมพันธ์กับการดำเนินงานตามแผนพัฒนาสุขภาพ และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

  25. ข้อค้นพบประเด็นการถ่ายทอดยุทธศาสาตร์ข้อค้นพบประเด็นการถ่ายทอดยุทธศาสาตร์ • ๗. การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ ยุทธวิธี แผนงาน ตลอดจนงานและโครงการต่างๆ มีกรอบแนวความคิดในการวางแผนที่ไม่เป็นเอกภาพในกลุ่มผู้เกี่ยวข้อง • ๘. การกำหนดยุทธศาสตร์และการวางแผนงานในระดับต่างๆ เพื่อรองรับแผนงานระดับบน มีความแตกต่างของกระบวนทัศน์ (Paradigm) • ๙. รูปแบบและบทบาทของหน่วยงานวิชาการระดับกรมสำนัก/กองในกระทรวงสาธารณสุขไม่เอื้อกับพื้นที่ • ๑๐. ยังไม่มีการสร้างและใช้แบบประเมินตนเองเพื่อติดตามความก้าวหน้าของการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ ในภาพรวม และนำเครื่องชี้วัดการประเมินผลการพัฒนาฯไปใช้ให้ได้อย่างเป็นรูปธรรม

  26. กรอบและคำถามสำคัญของการประเมินยุทธศาสตร์ สบช.

  27. Strategic Formulation • เป้าประสงค์คืออะไร วัดอย่างไร • หากได้ระบุเป้าประสงค์ระยะกลางและยาว อะไรที่บ่งบอกทิศทาง/ขั้นความสำเร็จนั้นได้ • ตอนที่พัฒนายุทธศาสตร์มี Assumption ว่าอะไร ยังคงเป็นจริงหรือไม่ • ตอนวิเคราะห์ SWOT ปัจจุบันยังเป็นตามนั้นหรือไม่

  28. Strategic dissemination • การถ่ายทอดนโยบาย/แนวคิด ทำอย่างไร? distort? • การสนับสนุนนโยบายมีอะไรบ้าง • ใคร/หน่วยงานใด ที่รับผิดชอบยุทธศาสตร์ จัดองค์กรอย่างไร • ใช้เครื่องมือใดคำสั่ง/จูงใจ/การเงิน

  29. Strategic implementation • Output/outcome ของกิจกรรมโครงการ วัดอย่างไร ใครวัด สะท้อนภาพเป้าประสงค์ได้อย่างไรบ้าง • Input และการสนับสนุนนโยบายมีอะไรบ้าง • การบริหารโครงการ โดยใคร/หน่วยงานใด อย่างไร

  30. Strategic control • ประเด็นยุทธศาตร์เดิม ยังมีความเหมาะสมอยู่หรือไม่ • การถ่ายทอดนโยบายและสนับสนุนและการสนับสนุนนโยบาย เพียงพอ? ต้องเพิ่มเติมอะไรบ้าง? • ต้องเพิ่มความเข้มข้นที่มาตรการ/ตัวชี้วัดใดเป็นพิเศษ? • ความเหมาะสมของการบริหาร? • ความเหมาะสมของการควบคุมกำกับ กลไกและเครื่องมือที่ใช้

More Related