1 / 64

พิศิษฐ์ ลีลาวชิโรภาส โทร. ๐๘ ๕๑๒๓ ๓๑๔๙

สำนักงาตรวจสอบภายใน โครงการอบรม “ตรวจสอบพัสดุอย่างสร้างสรรค์” การบรรยายหัวข้อ “เทคนิคการตรวจสอบพัสดุ และข้อตรวจพบในการปฏิบัติงานพัสดุ”. พิศิษฐ์ ลีลาวชิโรภาส โทร. ๐๘ ๕๑๒๓ ๓๑๔๙. 1. เพราะพ่อบอกว่า......... .....เงินแผ่นดิน นั้นคือ เงินของประชาชนทั้งชาติ. 1. งบประมาณรายจ่ายของแผ่นดิน

gisela-hart
Download Presentation

พิศิษฐ์ ลีลาวชิโรภาส โทร. ๐๘ ๕๑๒๓ ๓๑๔๙

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สำนักงาตรวจสอบภายในโครงการอบรม“ตรวจสอบพัสดุอย่างสร้างสรรค์”การบรรยายหัวข้อ“เทคนิคการตรวจสอบพัสดุและข้อตรวจพบในการปฏิบัติงานพัสดุ”สำนักงาตรวจสอบภายในโครงการอบรม“ตรวจสอบพัสดุอย่างสร้างสรรค์”การบรรยายหัวข้อ“เทคนิคการตรวจสอบพัสดุและข้อตรวจพบในการปฏิบัติงานพัสดุ” พิศิษฐ์ ลีลาวชิโรภาสโทร. ๐๘ ๕๑๒๓ ๓๑๔๙ 1

  2. เพราะพ่อบอกว่า......... .....เงินแผ่นดิน นั้นคือ เงินของประชาชนทั้งชาติ...... 1

  3. งบประมาณรายจ่ายของแผ่นดินงบประมาณรายจ่ายของแผ่นดิน ให้ทำเป็นพระราชบัญญัติ ถ้า พรบ. งบประมาณรายจ่ายประจำปีออกไม่ทัน ให้ใช้กฎหมายงบประมาณรายจ่ายปีก่อนไปพลาง รธน. ๕๐ ม. ๑๖๖ การควบคุมการเงินการคลังการเงิน การคลัง และงบประมาณ 2

  4. เว้นแต่ กรณีจำเป็นเร่งด่วน แต่ต้องเป็นไปหลักเกณฑ์และ วิธีการที่กฎหมายบัญญัติ รธน. ๕๐ ม. ๑๖๙ การควบคุมการเงินการคลัง การจ่ายเงินแผ่นดินจะกระทำได้เฉพาะ ที่ได้อนุญาตไว้ในกฎหมาย 3

  5. พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 มาตรา ๒๖ ข้าราชการหรือลูกจ้าง ผู้ใด ของส่วนราชการ กระทำการ ก่อหนี้ผูกพัน หรือ จ่ายเงิน หรือโดยรู้อยู่แล้วยินยอมอนุญาตให้กระทำการดังกล่าวนั้น โดย ฝ่าฝืน พ.ร.บ. นี้ หรือระเบียบ หรือข้อบังคับที่ออก โดย พ.ร.บ.นี้ นอกจากความรับผิดทางอาญา จะต้องชดใช้จำนวนเงินที่ส่วนราชการจ่ายไป / ต้องผูกพันจะต้องจ่าย บุคคลภายนอกผู้ได้รับประโยชน์จากการกระทำนั้นจะต้องร่วมรับผิดชอบใช้จำนวนเงินนั้น ตลอดจนค่าสินไหมใด ๆ ให้แก่ส่วนราชการ 4

  6. ให้มีกฎหมายการเงินการคลังของรัฐ เพื่อกำหนดกรอบวินัยการเงิน การคลัง ซึ่งรวมถึงหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการวางแผนการเงินระยะ ปานกลาง การจัดหารายได้ การกำหนดแนวทาง ในการจัดทำงบประมาณของการบริหารการเงินและทรัพย์สิน การบัญชี กองทุนสาธารณะ การก่อหนี้หรือดำเนิน การผูกพันทรัพย์สิน หรือภาระทางการเงินของรัฐ การกำหนดหลักเกณฑ์วงเงินสำรองจ่ายเพื่อเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น และการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ตามหลักการรักษาเสถียรภาพ พัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน และความเป็นธรรมในสังคม(เป็นกฎหมายแม่บทเพื่อกำกับวินัยการคลังทุกภาคส่วนแบบบูรณาการ) การเงิน การคลัง และงบประมาณ รธน. ๕๐ ม. ๑๖๗ 5

  7. กรอบกฎหมายวินัยการเงินการคลัง* การกำหนดการวางแผนการเงินระยะปานกลาง* การจัดหารายได้* แนวทางในการจัดทำงบประมาณรายจ่ายของแผ่นดิน * การบริหารการเงินและทรัพย์สิน* การบัญชี* กองทุนสาธารณะ * การก่อหนี้หรือผูกพันทรัพย์สินหรือภาระ ทางการเงินของรัฐ* การกำหนดวงเงินสำรองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น 6

  8. กรอบกฎหมายวินัยการเงินการคลังกรอบกฎหมายวินัยการเงินการคลัง การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ หน่วยงานของรัฐ • ส่วนราชการ * เทศบาล * กทม. • องค์การมหาชน * อบต. * เมืองพัทยา • องค์กรตามรัฐธรรมนูญ * อบจ. * อปท. อื่น • หน่วยงานอื่น9 อปท. 9

  9. การใช้จ่ายเงินแผ่นดิน จึงต้อง......... • เป็นไปตามกฎหมาย / ระเบียบ ฯ/ มติ ครม. • ได้ผลตามวัตถุประสงค์ ตามเป้าหมาย ประหยัด เกิดประโยชน์สูงสุด คุ้มค่าเงิน • เป็นไปโดยรัดกุม / เหมาะสม • เป็นไปโดยบริสุทธิ์ / สุจริตและเป็นธรรม ..........

  10. แนวทางการตรวจสอบเงินแผ่นดิน • ด้านการบัญชีและการเงิน • ด้านการจัดเก็บรายได้ • ด้านการบริหารงานพัสดุ • ด้านการดำเนินงาน • ด้านสืบสวนข้อเท็จจริง

  11. ด้านการบัญชี/งบการเงิน ด้านการบัญชี/งบการเงิน การจัดทำบัญชี / งบการเงิน - การลงบัญชี / รายงานการเงิน - วิเคราะห์งบการเงิน/ ข้อสังเกต ถูกต้องครบถ้วน / หลักบัญชี-ระเบียบ น่าเชื่อถือ ตามที่ควร

  12. ด้านการการเงินทั่วไป การเบิกจ่าย/หลักฐานทางการเงิน - ฎีกา / ใบสำคัญ - เอกสารประกอบการเบิกจ่าย ถูกต้องครบถ้วน - แท้จริง ตามระเบียบ - ตามความจริง

  13. ด้านการจัดเก็บรายได้ แหล่งที่มาของรายได้ - การจัดเก็บ - การรับ เก็บรักษา นำส่งเงิน ถูกต้องครบถ้วน / ตามกฎหมาย ตามหลักเกณฑ์ / ตามเป้าการจัดเก็บ

  14. ด้านการดำเนินงาน ผลการใช้จ่ายเงิน - ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล - ประหยัด ประโยชน์ คุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ / เป้าหมาย ตามความจำเป็น เหมาะสม / รัดกุม

  15. ด้านการบริหารงานพัสดุ ด้านการบริหารงานพัสดุ - การจัดทำเอง - การจ้างที่ปรึกษา - การจัดซื้อ * - การจัดจ้าง * - การจ้างออกแบบและควบคุมงาน - การแลกเปลี่ยน - การเช่า - การควบคุมดูแล - การจำหน่าย - การดำเนินการอื่นเกี่ยวกับการพัสดุ

  16. กระบวนการจัดซื้อจัดจ้างกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง ENVIROMENT วัฒนธรรม/นโยบาย/ ระเบียบ INPUT PROCESS OUTPOT OUTCOME คน งปม. แผน เวลา พัสดุ ประโยชน์ที่ได้รับ วิธีการจัดหา FEEDBACK การตอบสนอง

  17. * กระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง ที่สำคัญ เช่น - งบประมาณ / วงเงิน / ราคากลาง - พัสดุที่ต้องการ(คุณลักษณะเฉพาะ รูปแบบฯ ) - ขั้นตอนและวิธีการจัดหา * - การตรวจรับ / การควบคุม ตามกฎหมาย ระเบียบ - ตามสัญญา แบบรูป ตามหลักเกณฑ์การจัดหาที่ดี

  18. หลักเกณฑ์การจัดหาที่ดีหลักเกณฑ์การจัดหาที่ดี • ได้พัสดุที่ดี มีคุณภาพ สมราคา ทันเวลาที่ต้องการ เกิดประโยชน์สูงสุด คุ้มค่าของเงิน(Value for Money) • มีการกำหนดคุณลักษณะเฉพาะ รูปแบบและรายการ ละเอียดที่ชัดเจนและเป็นกลาง สอดคล้องและตรงกับ ความต้องการใช้งาน เป็นไปตามนโยบาย • กระบวนการโปร่งใส เปิดเผย สามารถตรวจสอบได้ และเป็นธรรม มีการแข่งอย่างแท้จริง ชอบด้วยกฎหมาย

  19. พระราชบัญญัติว่าด้วย ความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๒ (ส่วนที่เกี่ยวกับผู้เสนอราคา/เป็นธุระ) • มาตรา 4 ผู้ใดร่วมเสนอราคา โดยเลี่ยงการแข่งราคา / กีดกันการเสนอราคา /โดยเอาเปรียบหน่วยงาน • มาตรา 5 ผู้ใดให้/ ขอให้/ จะให้ ทรัพย์สิน เพื่อสมยอมกัน เรียก/ รับ/ จะรับ ทรัพย์สิน เพื่อสมยอมกัน • มาตรา 6 ผู้ใดขืนใจ โดยใช้กำลัง/ ขู่เข็ญ ให้สมยอม • มาตรา 7 ผู้ใดหลอกลวง ให้ไม่มีโอกาสแข่งขัน/หลงผิด • มาตรา 8ผู้ใด เสนอราคา ต่ำ/สูงกว่าความจริง เพื่อกีดกัน • มาตรา 9 หุ้นส่วน /กรรมการผู้จัดการ ผู้บิหาร กระทำผิด

  20. พระราชบัญญัติว่าด้วย ความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๒ (ส่วนที่เกี่ยวกับเจ้าหน้าที่ของรัฐ) • มาตรา 10 จนท. รู้ / ควรจะรู้ การเสนอราคาที่ผิดกฎหมาย ละเว้นไม่ดำเนินการยกเลิกการเสนอราคานั้น • มาตรา 11 จนท./ผู้รับมอบหมาย โดยทุจริตทำการออกแบบ กำหนดราคา/ เงื่อนไข / ผลตอบแทน ไม่เป็นธรรม • มาตรา 12 จนท. กระทำการใดๆ เอื้ออำนวยผู้สมยอมราคา • มาตรา 13 นักการเมือง/ กรรมการ / อนุฯ ในหน่วยงานรัฐ กระทำผิด พ.ร.บ. สมยอมฯ

  21. การไม่ปฏิบัติตามระเบียบฯ พัสดุ • ต้องมีเหตุผลจำเป็น • ต้องขออนุมัติยกเว้น • หรือผ่อนผัน ก่อน!

  22. การดำเนินการจัดหา • ต้องมีการ วางแผน • และ จัดหาตามแผน • หลังทราบยอดเงินที่จะใช้ • ให้พร้อมทำสัญญาทันที • เมื่อได้รับอนุมัติทางการเงิน

  23. การจัดทำเอง • ต้องมีผู้ควบคุมงานรับผิดชอบ • ต้องมีคณะกรรมการตรวจการ ปฏิบัติงาน

  24. การจัดหาทุกขั้นตอน • ต้องมีการบันทึกหลักฐาน และเหตุผลการพิจารณาสั่งการ • ระมัดระวังในการตรวจสอบคุณสมบัติผู้เสนอราคาหรืองาน

  25. การอุดหนุนสินค้าที่ผลิตหรือกิจการของไทยการอุดหนุนสินค้าที่ผลิตหรือกิจการของไทย การกำหนดรายละเอียดหรือ คุณสมบัติเฉพาะ ต้องไม่กีดกันการแข่งขัน

  26. การแบ่งซื้อแบ่งจ้าง ต้องห้าม • เพื่อเปลี่ยนแปลงวิธีการจัดหา • เพื่อเปลี่ยนแปลงอำนาจอนุมัติ ข้อพิจารณา • งบประมาณ • ประเภทพัสดุ • ช่วงเวลาในการดำเนินการ

  27. รายงานขออนุมัติจัดหา ต้องมีรายละเอียดอย่างน้อยรายงานขออนุมัติจัดหา ต้องมีรายละเอียดอย่างน้อย คือ • รายละเอียดของพัสดุ • เหตุผลและความจำเป็นที่ต้องจัดหา • ราคามาตรฐาน/ราคากลาง/ราคาที่เคยจัดหา • วงเงินที่จะจัดหา ระบุงบประมาณ • กำหนดเวลาที่ต้องการใช้งานพัสดุ • วิธีการจัดหาและเหตุที่ต้องจัดหาโดยวิธีนั้น • ข้อเสนออื่น

  28. การจัดซื้อที่ดินและสิ่งปลูกสร้างการจัดซื้อที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง • วงเงินที่จะซื้อ ระบุแหล่งเงิน เหตุผล/ความจำเป็น รายละเอียด • ต้องมีราคาประเมินของทางราชการในท้องที่นั้น • และราคาซื้อขายใกล้เคียงบริเวณนั้นหลังสุด 3 ราย • วิธีจะซื้อ/เหตุผล • ซื้อจากเจ้าของที่ดินโดยตรง(วิธีพิเศษ) ยกเว้น ต่างประเทศ

  29. การตกลงราคา • เจ้าหน้าที่พัสดุตกลงกับผู้ขาย/ผู้รับจ้างโดยตรง • กรณียกเว้น ตกลงซื้อจ้างไปก่อน • ต้องมีเหตุจำเป็นเร่งด่วน ไม่อาจคาดหมาย • หรือไม่อาจดำเนินการตามปกติ • ต้องดำเนินการโดยเจ้าหน้าที่พัสดุ และ • รีบรายงานขอความเห็นชอบต่อ หัวหน้าส่วนราชการ

  30. การสอบราคา/การประกวดราคาการสอบราคา/การประกวดราคา • ต้องทำตามมาตรการ ระเบียบ มติครม. และ • กม.ที่เกี่ยวข้อง (พ.ร.บ.ว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับ การเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ พ.ศ.2542) • หนังสือที่ นร. 0205/ว193 ลว.13ธ.ค.42 เรื่อง แนวปฏิบัติในการกำกับดูแลเผยแพร่ข่าวสาร การประกาศประกวดราคาฯ

  31. การจัดหาโดยวิธีพิเศษ • ต้องเป็นกรณีที่มีความจำเป็นเร่งด่วนที่ไม่อาจปฏิบัติตามแผน (ข้อ 57 (2) ) • ต้องจ้างเพิ่ม (Repeat Order) จำเป็น/เร่งด่วน/ประโยชน์ ของราชการ (ข้อ 24 (5) )เจรจากับผู้รับจ้างรายเดิมซึ่งยังไม่ สิ้นสุดระยะเวลาการส่งมอบ (ข้อ 58(2) ) • จ้างโดยวิธีอื่นแล้วไม่ได้ผลดี ให้สืบราคาจากผู้มีอาชีพ โดยตรงและผู้เสนอราคาในการสอบราคา/ประกวด ราคาซึ่งถูกยกเลิกไป (ข้อ 58 (3) )

  32. การจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์การจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ • จัดซื้อตามชื่อยาสามัญ ในบัญชียาหลักแห่งชาติ กำหนดไม่น้อยกว่า 60% วงเงินงบประมาณ • เว้นแต่แต่ส่วนราชการสังกัด สธ.ไม่น้อยกว่า 80% • ยา และ เวชภัณฑ์ ที่มิใช่ยา ซื้อจากองค์การเภสัชฯ • ยาที่องค์การเภสัชฯไม่ผลิตแต่มีจำหน่าย ซื้อจากใครก็ได้ • ซื้อตาม กม./ มติครม.

  33. การตรวจรับพัสดุ • ต้องตรวจรับ ณ ที่ทำการของผู้ใช้พัสดุ • หรือสถานที่ซึ่งกำหนดไว้ในสัญญา/ ข้อตกลง • ปกติต้องตรวจรับวันที่ส่งพัสดุ และ ดำเนินการ โดยเร็วที่สุด • ต้องตรวจให้ถูกต้องครบถ้วน

  34. การควบคุมงาน • ต้องตรวจและคุมงาน ณ สถานที่ที่สัญญากำหนด • หรือที่ให้ทำงานจ้างนั้น ทุกวัน และ • ต้องดูแลให้เป็นไปตามรูปแบบรายการละเอียดและข้อกำหนด • ต้องบันทึกสภาพการปฏิบัติงานของผู้รับจ้าง และเหตุการณ์ เป็นรายวัน • รายงานผลการปฏิบัติงาน ต่อ คณะกรรมการตรวจการจ้าง ทุกสัปดาห์

  35. การตรวจการจ้าง (ข้อ 72) • ตรวจรายงานผู้ควบคุมงาน • ตรวจสอบกับแบบรูปรายการละเอียด และข้อกำหนด • ตรวจทุกสัปดาห์ • หากมีข้อสงสัย/ เห็นว่าตามหลักช่างสร้างไม่ได้ สั่งเปลี่ยนแปลง/ตัดทอนงานตามสมควร • ตรวจผลงานที่ผู้รับจ้างส่งมอบปกติภายใน 3 วันทำการ และตรวจรับให้เสร็จสิ้นโดยเร็วที่สุด

  36. ตัวอย่าง การพัสดุผิดระเบียบ/กฎหมาย เช่น • แบ่งแยกวงเงินจัดซื้อ / จัดจ้าง • จัดซื้อที่ดิน / สิ่งก่อสร้างโดยมิชอบ • กำหนดราคากลาง / คุณสมบัติโดยมิชอบ • การเผยแพร่ / จัดส่งประกาศโดยมิชอบ • พิจารณาผลการเสนอราคาโดยมิชอบ • เสนอความเห็นโดยมิชอบ • ทำสัญญาโดยมิชอบ

  37. ตัวอย่าง การพัสดุผิดระเบียบ/กฎหมาย เช่น • ควบคุมงาน / ตรวจการจ้างโดยมิชอบ • ตรวจรับโดยมิชอบ • เบิกจ่ายพัสดุ / จัดทำทะเบียนโดยมิชอบ • ละเว้นการตรวจสอบพัสดุประจำปี • ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับยานพาหนะโดยมิชอบ(ความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ)

  38. การตกลงราคา (ระเบียบฯ ข้อ 39) • เจ้าหน้าที่พัสดุตกลงกับผู้ขาย/ผู้รับจ้างโดยตรง • กรณียกเว้น ตกลงซื้อจ้างไปก่อน (ข้อ39 วรรคสอง) • ต้องมีเหตุจำเป็นเร่งด่วน ไม่อาจคาดหมาย • หรือไม่อาจดำเนินการตามปกติ • ต้องดำเนินการโดยเจ้าหน้าที่พัสดุ และ • รีบรายงานขอความเห็นชอบต่อ หัวหน้าส่วนราชการ

  39. ด้านตรวจสอบสืบสวนข้อเท็จจริง ด้านตรวจสอบสืบสวนข้อเท็จจริง พฤติการณ์ ไม่สุจริต / ทุจริต - บกพร่อง ไม่เป็นไประเบียบ - เสียหาย - กระทำมิชอบ / เสียหายร้ายแรง ทุจริต ผิดระเบียบ / ผิดกฎหมาย

  40. การตรวจสอบสืบสวนINVESTIGATION AUDIT การแสวงหาข้อเท็จจริงเพื่อให้ทราบรายละเอียดพฤติการณ์ และรวบรวมพยานหลักฐาน เพื่อพิสูจน์การกระทำ ว่า...... .บกพร่อง / ไม่สุจริต / ทุจริตหรือไม่ ?(เทคนิคการสอบบัญชี + เทคนิคการสอบสวน)

  41. มาตรการอื่น ๆ • การวางมาตรฐานการควบคุมภายใน • การปฏิบัติมาตรฐานการตรวจสอบภายใน • การจัดทำแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง • การติดตามวินัยทางการเงินการคลังและงบประมาณ - ข้อกำหนดวินัยการเงินการคลังและงบประมาณ - กำหนดโทษปรับทางปกครอง

  42. ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วย ......... - การกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. ๒๕๔๔ - วินัยทางงบประมาณและการคลัง พ.ศ. ๒๕๔๔ ประกาศคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน -เรื่องการจัดทำแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. ๒๕๔๖ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย - การเร่งรัด ติตามเกี่ยวกับกรณีเงินขาดบัญชีหรือเจ้าหน้าที่ ของรัฐทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๖ 43 1

  43. ประกาศ คตง.เรื่อง การจัดทำแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. ๒๕๔๖ วัตถุประสงค์ของระเบียบฯ เพื่อให้การบริหารงบประมาณและการตรวจสอบ เป็นไปด้วยความเหมาะสม เกิดประสิทธิภาพสูงสุด เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ

  44. การบังคับใช้ตามประกาศ คตง. หน่วยรับตรวจ • กรม / ส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกรม • ส่วนราชการจังหวัด / ส่วนราชการที่ตั้งอยู่ภูมิภาค • กทม. อบจ. เทศบาล อบต. เมืองพัทยา • รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานอิสระ องค์การมหาชน • หน่วยงานในกำกับ หน่วยงานอื่น ของรัฐ

  45. หลักเกณฑ์จัดทำแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง หน่วยรับตรวจ ที่จะจัดซื้อจัดจ้าง • ครุภัณฑ์ ราคาเกิน 100,000 บาท • ที่ดินสิ่งก่อสร้าง ราคาเกิน 2,000,000 บาท

  46. หลักเกณฑ์จัดทำแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง หน่วยรับตรวจ (ส่วนภูมิภาค/ท้องถิ่น) • ครุภัณฑ์ ราคาเกิน 100,000 บาท • ที่ดินสิ่งก่อสร้าง ราคาเกิน 1,000,000 บาท

  47. หลักเกณฑ์จัดทำแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง • จัดทำแผนตามแบบ ภายใน 1 ตุลาคม ของ ทุกปี • ส่งสำเนาให้ สตง. ภายใน 31ตุลาคม ของ ทุกปี

  48. หลักเกณฑ์จัดทำแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง เว้นแต่จัดซื้อจัดจ้างโดยเงินกู้ • จัดทำแผนปฏิบัติการ และ • ส่งสำเนาให้ สตง. ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับอนุมัติเงินกู้

  49. หลักเกณฑ์จัดทำแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง กรณีแก้ไข เปลี่ยนแปลง เพิ่มเติม ตัดทอน รายละเอียด หรือ ระยะเวลา แผนปฏิบัติการ จัดส่งสำเนาให้ สตง. ภายใน 15 วัน นับแต่วันที่อนุมัติ

More Related