1 / 24

โรคในระบบการย่อยอาหาร

โรคในระบบการย่อยอาหาร. ลักษณะหรือข้อบ่งชี้ ลูกสุกรดูดนม ในฝูงมีอัตราการป่วยมากกว่า 50% และอัตราการตายมากกว่า 20% สุกรขุน ในฝูงมีอัตราการป่วยมากกว่า 20% และอัตราการตายมากกว่า 5%. การติดต่อ เกิดจากการนำสัตว์ที่เป็นพาหะเข้าฟาร์ม เกิดจากการปนเปื้อนของเชื้อในอาหารสัตว์หรือสิ่งแวดล้อม. new.

Download Presentation

โรคในระบบการย่อยอาหาร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โรคในระบบการย่อยอาหารโรคในระบบการย่อยอาหาร ลักษณะหรือข้อบ่งชี้ ลูกสุกรดูดนม • ในฝูงมีอัตราการป่วยมากกว่า 50%และอัตราการตายมากกว่า 20% สุกรขุน • ในฝูงมีอัตราการป่วยมากกว่า 20%และอัตราการตายมากกว่า 5% โรคในระบบการย่อยอาหาร

  2. การติดต่อ • เกิดจากการนำสัตว์ที่เป็นพาหะเข้าฟาร์ม • เกิดจากการปนเปื้อนของเชื้อในอาหารสัตว์หรือสิ่งแวดล้อม new โรคในระบบการย่อยอาหาร

  3. โรคซัลโมเนลโลซีส (Salmonellosis) เป็นโรคที่พบได้บ่อยมากโรคหนึ่ง เนื่องจากเชื้อมี host range กว้าง สาเหตุ • เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชนิดกรัมลบ ซึ่งมีปนเปื้อนในอาหารสัตว์ ซึ่งหากพบเป็นจำนวนมาก จะทำให้สัตว์เป็นโรคและเป็นเชื้อที่ติดคน • แต่เชื้อที่เป็นสาเหตุของโรคจริงๆ ในสุกร มี 2 ชนิด คือ S. choleraesuisและ S. typhisuis การติดต่อ • เกิดจากการปนเปื้อนกับเชื้อในอุจจาระสัตว์ป่วยหรือสัตว์อมโรคหรือปนเปื้อนกับเชื้อในอาหารสัตว์ โรคซัลโมเนลโลซีส

  4. Pattern of Salmonellosis เป็นโรคที่เริ่มจากการติดเชื้อในส่วนลำไส้ แต่ในกรณีที่เป็นอย่างรุนแรงจะก่อให้เกิดอาการโลหิตเป็นพิษ และเชื้อแพร่กระจายได้ทั้งร่างกาย

  5. อาการและวิการ • สุกรทุกอายุจะมีความไวต่อการติดเชื้อ แต่ไวมากที่สุดเมื่ออายุ <4 m มี 3 แบบ 1. เลือดเป็นพิษอย่างเฉียบพลัน (peracute septicemia) • พบในสุกรอายุ < 4 m อัตราการป่วย 10-50 % อัตราการตาย ~ 100% โรคซัลโมเนลโลซีส

  6. อาการและวิการ 2. ลำไส้อักเสบแบบปัจจุบัน (acute enteritis) 3. ลำไส้อักเสบแบบเรื้อรัง (chronic enteritis) • อาการแบบเฉียบพลันจะคล้ายคลึงกับอหิวาต์สุกรมาก • ส่วนแบบเรื้อรังจะมีอาการคล้ายกับ swine dysentery enteritis โรคซัลโมเนลโลซีส

  7. การวินิจฉัย • ส่งตัวอย่างอวัยวะภายในเพื่อทำการเพาะเชื้อในห้องปฏิบัติการ การรักษา • ให้ยาปฏิชีวนะที่ออกฤทธิ์กว้างหรือกลุ่มซัลฟา และอาจต้องมีการทดสอบความไวของยาต่อเชื้อก่อนให้การรักษา การควบคุมและป้องกันโรค • เน้นการจัดการทั่วไป โดยเฉพาะการซื้อสัตว์ใหม่เข้าฝูง • แหล่งอาหารสัตว์ที่สะอาด โรคซัลโมเนลโลซีส

  8. โรคโคไลแบซิลโลซีส (Colibacillosis) • เป็นปัญหาทั่วโลกและทำให้เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจที่สำคัญที่สุดของโรคในทางเดินอาหาร สาเหตุ • เกิดจากแบคทีเรียชนิดกรัมลบชื่อ E. coli สามารถสร้าง endotoxin ซึ่งทำให้เกิดการช็อคและ enterotoxin ซึ่งทำให้เกิดท้องเสีย นอกจากนี้บาง strain ทำให้เกิดการบวมน้ำ การติดต่อ • เหมือนโรคติดเชื้อในทางเดินอาหารทั่วไป โรคโคไลแบซิลโลซิส

  9. การติดเชื้อ E.coli ชนิดก่อโรค โรคโคไลแบซิลโลซิส

  10. อาการ มี 3 กลุ่ม • 1. เลือดเป็นพิษและช็อคตาย (septicemia) • ส่วนใหญ่จะพบในลูกสุกรแรกเกิด เนื่องจากมีการติดเชื้อผ่านทางสายสะดือ • พบในฟาร์มที่มีการจัดการแม่สุกรก่อนและหลังคลอดไม่ดี โรคโคไลแบซิลโลซิส

  11. อาการ มี 3 กลุ่ม • 2. ท้องร่วง (diarrhea) • พบเป็นปัญหามากที่สุด (~ 50% ของปัญหาท้องร่วงในลูกสุกร) • พบในฟาร์มที่มีการจัดการแม่สุกรก่อนและหลังคลอดไม่ดี และโรงเรือนที่มีปัญหาการจัดการเรื่องอุณหภูมิและความชื้น โรคโคไลแบซิลโลซิส

  12. 3. โรคบวมน้ำ (edema disease หรือ bowel edema) • มักเกิดกับลูกสุกรหลังหย่านมที่โตเร็วและแข็งแรงในคอกและมีความเครียดจากการจัดการ เช่น เปลี่ยนอาหาร ฉีดวัคซีน โรคโคไลแบซิลโลซิส

  13. การวินิจฉัยโรค, การรักษาและการควบคุมและป้องกันโรค • เหมือนโรคซัลโมเนลโลซีส โรคโคไลแบซิลโลซิส

  14. โรคบิดมูกเลือด (Swine Dysentery) • มักเกิดกับสุกรรุ่น (อายุ 2-4 เดือน) สุกรขุน และสุกรแม่พันธุ์ทดแทน • อัตราการเกิดโรค ~90-100% อัตราการตาย ~30% และโรคอาจจะวนเวียนติดต่อกันเรื่อยๆ ถ้าไม่ใช้มาตรการคุมเข้มทางสุขาภิบาล สาเหตุโน้มนำ • ความเครียด • การขาดไวตามิน E และซีลีเนียม โรคบิดมูกเลือด

  15. สาเหตุ • แบคทีเรียชนิดเกลียวสว่าน ชื่อ Treponema hyodysenteriae • เชื้อถูกทำลายได้ด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อพวกฟีนอล และโซเดียมไฮโปคลอไรท์ • เชื้อสามารถสร้าง endotoxin และhemolysin ซึ่งทำลายเซลล์เยื่อบุเยื่อเมือกลำไส้ใหญ่ ทำให้การดูดซึมแร่ธาตุเสียไป โรคบิดมูกเลือด

  16. การติดต่อ • การกินอาหารหรือน้ำที่มีการปนเปื้อนของเชื้อนี้ • การซื้อสุกรที่เป็นพาหะเข้าฟาร์มรวมทั้งการมีสัตว์ที่หายป่วยจะสามารถแพร่เชื้อปนมากับอุจจาระได้ 1-2 m • การมีพาหะนำโรค เช่น นก หนู สุนัขและแมลงวันคอก • การแพร่กระจายของโรคส่วนใหญ่จะติดไปกับเสื้อผ้าและรองเท้าของคนเลี้ยงรวมทั้งน้ำเสียตามทางระบายน้ำ โรคบิดมูกเลือด

  17. อาการ • การระบาดของโรคจะเป็นอย่างช้าๆ ในฝูงเดียวกัน สัตว์อาจแสดงอาการได้หลายแบบ บางตัวอาจแสดงอาการหลังโกง เตะท้องตัวเองแสดงอาการเสียดท้อง และมีอาการท้องร่วง ซึ่งเป็นลักษณะที่ควบคุมการขับถ่ายไม่ได้ โดยจะเห็นอุจจาระเหลวไหลเปรอะก้น มีกลิ่นคาวจัดและในอุจจาระจะมีเยื่อเมือกร่อนหลุดและมีเลือดปน • ระยะเวลาเป็นโรค 1-2 w โรคบิดมูกเลือด

  18. การวินิจฉัย • ผ่าซากพบการอักเสบในลำไส้ใหญ่อย่างรุนแรง • เพาะแยกเชื้อจากอุจจาระ • โรคนี้มีอาการคล้ายกับโรคอื่นๆ เช่น การติดพยาธิแส้ม้า, PIA complex โรคบิดมูกเลือด

  19. การรักษา • ตัวที่มีอาการป่วยชัดเจน ควรให้ยาฉีด ส่วนสัตว์ที่เหลือในฝูงให้ยาผสมน้ำดีกว่าผสมอาหาร เพราะสัตว์ป่วยจะกินอาหารลดลง • ยาที่ใช้เช่น Dimetridazole, Erythromycin, Lincomysin, Tiamulin, Tylosin (ฉีด 3-5 d ถ้าให้กิน 2-3 w) กินหรือฉีด โรคบิดมูกเลือด

  20. การควบคุมและป้องกันโรคการควบคุมและป้องกันโรค • มีการกักสัตว์ที่ซื้อใหม่ก่อนนำเข้าฟาร์ม • กำจัดพาหะของโรคในฟาร์ม • มีการใช้น้ำยาฆ่าเชื้อก่อนเข้าฟาร์ม • สัตว์ป่วยจะต้องแยกไปเลี้ยงต่างหากเพื่อกันไม่ให้มีการแพร่เชื้อ • กำจัดอุจจาระ และทำความสะอาดคอกโดยใช้น้ำยาฆ่าเชื้อ โรคบิดมูกเลือด

  21. โรคพยาธิในทางเดินอาหารโรคพยาธิในทางเดินอาหาร • ความสำคัญของโรคพยาธิและความจำเป็นในการถ่ายพยาธิขึ้นอยู่กับลักษณะการเลี้ยงและอาหารที่ใช้เลี้ยง แต่ถ้ามีการนำมารวมฝูง ควรจะต้องมีการถ่ายพยาธิ สาเหตุ • ชนิดของพยาธิที่พบมากในประเทศไทยได้แก่ • พยาธิไส้เดือน อยู่ในลำไส้เล็ก • พยาธิเส้นด้าย อยู่ในลำไส้เล็ก • พยาธิแส้ม้า อยู่ในลำไส้ใหญ่ • พยาธิเม็ดตุ่ม อยู่ในลำไส้ใหญ่ โรคพยาธิในทางเดินอาหาร

  22. การติดต่อ • จากการกินอาหารที่มีระยะติดต่อของพยาธิ หรือบางชนิดจะสามารถไชเช้าทางผิวหนัง อาการ • ส่วนใหญ่ทำให้เกิดโรคแบบเรื้อรังท้องเสีย เบื่ออาหาร ไม่ได้ผลผลิตเท่าที่ควร • พยาธิที่อยู่ในปอดทำให้สัตว์ไอ • พยาธิที่ดูดเลือด จะทำให้โลหิตจางและอาจมีอุจจาระปนมูกเลือด ท้องมานในลูกสุกร โรคพยาธิในทางเดินอาหาร

  23. วิการ • พยาธิบางชนิด เช่น พยาธิไส้เดือนในระยะตัวอ่อนจะไชผ่านเนื้อตับ ทำให้เกิดอาการที่เรียกว่า milk spot การวินิจฉัยโรค • จากอาการ หรือเก็บตัวอย่างอุจจาระไปหาไข่พยาธิ แต่ถ้าเป็นปัญหาที่เกิดจากระยะตัวอ่อน จะยังไม่สามารถให้ไข่พยาธิได้ ในกรณีนี้จะตรวจไม่พบ โรคพยาธิในทางเดินอาหาร

  24. การรักษาและป้องกันควบคุมโรคการรักษาและป้องกันควบคุมโรค • สุวิชา (2536) ได้วางโปรแกรมดังนี้ แม่สุกร • ถ่ายพยาธิก่อนเข้าเล้าคลอดและควรถ่ายอีกครั้งตอนหย่านมลูก • หรือ ถ่ายปีละ 2-3 ครั้ง สุกรขุน • ถ่ายพยาธิช่วงนำเข้าเล้าขุน พ่อสุกร • ถ่ายปีละ 2-4 ครั้ง โรคพยาธิในทางเดินอาหาร

More Related