1 / 20

งานนำเสนอเรื่องการฝึกงาน

งานนำเสนอเรื่องการฝึกงาน. นายอนรรฆ พรหมคุณ รหัส5212402161 คณะเกษตรศาสตร์ ( สัตว ศาสตร์). ศูนย์วิจัยการผสมเทียมและเทคโนโลยีชีวภาพอุบลราชธานี. ประวัติการผสมเทียมของโลก. -  พ.ศ.1865 ผสมเทียมม้า (อาหรับ) -  พ.ศ.2323 ผสมเทียมสุนัข(อิตาลี) -  พ.ศ. 2473 ผสมเทียมในโคและแกะ(รัสเซีย)

gil-brady
Download Presentation

งานนำเสนอเรื่องการฝึกงาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. งานนำเสนอเรื่องการฝึกงานงานนำเสนอเรื่องการฝึกงาน นายอนรรฆ พรหมคุณ รหัส5212402161 คณะเกษตรศาสตร์ (สัตวศาสตร์)

  2. ศูนย์วิจัยการผสมเทียมและเทคโนโลยีชีวภาพอุบลราชธานีศูนย์วิจัยการผสมเทียมและเทคโนโลยีชีวภาพอุบลราชธานี

  3. ประวัติการผสมเทียมของโลกประวัติการผสมเทียมของโลก -  พ.ศ.1865 ผสมเทียมม้า (อาหรับ) -  พ.ศ.2323 ผสมเทียมสุนัข(อิตาลี) -  พ.ศ. 2473 ผสมเทียมในโคและแกะ(รัสเซีย) -  พ.ศ. 2492 ซี โพล และคณะ ชาวอังกฤษ ได้ทำการแช่แข็งน้ำเชื้อไดสำเร็จโดยเก็บน้ำเชื้อในน้ำแข็งแห้งอุณหภูมิ -79 องศาเซลเซียส -  พ.ศ. 2495 เติมกลีเซอรอล ลงในสารเจือจางน้ำเชื้อจะช่วยให้อสุจิรอด ชีวิตจากการเก็บที่อุณหภูมิ -196 องศาเซลเซียสซึ่งเป็นจุดเริ่มใน การผลิตน้ำเชื้อแช่แข็ง

  4. ประวัติการผสมเทียมในประเทศไทยประวัติการผสมเทียมในประเทศไทย • - พ.ศ.2496 ศาสตราจารย์นีลล์ ลาเกอร์ลอฟ ชาวสวีเดน ผู้เชี่ยวชาญจากเอฟ.เอ.โอ. ได้เดินทางมาสำรวจการเลี้ยงปศุสัตว์ในประเทศไทย โดยทุนของ เอฟ.เอ.โอ. จากนั้นได้เข้าเฝ้าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบันเพื่อทูลเกล้าฯ ถวายโครงการผลิตโคนมลูกผสมด้วยวิธีการผสมเทียม •           - พ.ศ. 2497 กรมปศุสัตว์ได้ส่งข้าราชการ ไปศึกษาอบรมนานาชาติ ณ ราชวิทยาลัยสัตวแพทย์ กรุงสต๊อกโฮล์ม ประเทศสวีเดน ซึ่งองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติร่วมกับรัฐบาลสวีเดน ได้เปิดหลักสูตรฝึกอบรมวิชาการสืบพันธุ์ รวมทั้งการผสมเทียมขึ้นเป็นรุ่นแรก •           - พ.ศ. 2499 กรมปศุสัตว์ได้เปิดสถานีผสมเทียมแห่งแรก ที่จังหวัดเชียงใหม่ วันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2499 ได้ผสมเทียมให้แม่โคตัวแรก •           - พ.ศ. 2501 สถานีผสมเทียมแห่งที่สองได้ตั้งขึ้นที่หน่วยผสมเทียมกลางในกรมปศุสัตว์ ได้พัฒนาและปรับปรุงพื้นฐานการเลี้ยงโคนมและการผสมเทียมในกรุงเทพมหานคร จนประสบความสำเร็จอย่างดียิ่ง

  5. ภาระงานต่างๆที่ได้รับที่ได้รับมอบมายภาระงานต่างๆที่ได้รับที่ได้รับมอบมาย • 1.ดูแลสัตว์ทดลองและตรวจการเป็นสัด • 2.ให้อาหารทุกเช้า-เย็นเป็นหญ้าสดและหญ้าแห้ง และอาหารข้นช่วยเสริมด้านต่างๆของร่างกายสัตว์ • 3.ออกผสมเทียมตามหมู่บ้านที่ได้รับมอบหมายจากศูนย์วิจัยการผสมเทียมและเทคโนโลยีชีวภาพอุบลราชธานี • 4.ดูแลและรักษาสัตว์ซึ่งมีอาการเจ็บเจ็บป่วยๆต่างๆในหมู่บ้าน • 5.บันทึกประวัติการผสมเทียมของโคและกระบือลงในระบบอินเตอร์เน็ตเพื่อป้องกันการผสมแบบเลือดชิด

  6. เรียนรู้ระบบสืบพันธุ์ของโคเรียนรู้ระบบสืบพันธุ์ของโค • เพื่อให้ทราบถึงระบบสืบพันธุ์ภายในเพื่อให้รู้ถึงตำแหน่งที่เราจะจะสอดปืนเข้าไปในระบบสืบพันธุ์ว่าควรฉีดที่ไหนตำแหน่งใดและเรียนรู้ระบบสืบพันธุ์ต่างของโคแม่พันธุ์ • อวัยวะสืบพันธุ์ของแม่โคที่สำคัญประกอบด้วย • 1.รังไข่ (ovary) • 2.ท่อนำไข่ (oviduct) • 3.ปีกมดลูก(uterine horn • 4.ตัวมดลูก (uterus) • 5.คอมดลูก (cervix) • 6.ช่องคลอด (vagina)7. • ปากช่องคลอด (vulva) เพื่อเรียนรู้ให้ทราบถึงระบบสืบพันธุ์เพื่อให้ง่ายต่อการลงพื้นที่จริงโดยการเรียนรู้ขั้นพื้นฐานไปก่อน

  7. เรียนรู้อุปกรณ์การผสมเทียมเรียนรู้อุปกรณ์การผสมเทียม • 1. ถังสนามใส่น้ำเชื้อ : เพื่อเก็บน้ำเชื้อแช่แข็งไว้ที่อุณภูมิ196องศาเซลเซียส • 2.ปืนผสมเทียม :เพื่อใช้สอดในการฉีดน้ำเชื้อแช่แข็งผ่านทางอวัยวะเพศของโคแม่พันธุ์ที่มีอาการเป็นสัด • 3.  ถุงมือล้วงตรวจ/สารหล่อลื่น:เพื่อใช้ในการหาระบบสืบพันธุ์ของโคแม่พันธุ์ที่มีการอาการเป็นสัด • 4. ผ้ากันเปื้อน รองเท้าบู้ท:เพื่อป้องกันจาการเปื้อนของมูลสัตว์หรือสิ่งปนเปื้อนต่างๆ • 5. กระดาษชำระ :เพื่อใช้ทำความสะอาดต่างๆจากการปนเปื้อนต่างทั้งก่อนและหลังการผสม

  8. เรียนรู้อุปกรณ์การผสมเทียม(ต่อ)เรียนรู้อุปกรณ์การผสมเทียม(ต่อ) • 6.พลาสติกชีทกรรไกร: เพื่อใช้ในการบังคับหลอดน้ำเชื้อและป้องกันการติดเชื้อต่างๆจากภายนอกเข้าสู่ระบบสืบพันธุ์ • 7.  ถุงอนามัย(sanitary sheath,doublesheath):เพื่อสวมใส่นอกปืนเพื่อป้องกันการติดเชื้อจากภายนอกเพราะปืนอาจโดนสิ่งต่างๆก่อนเข้าสู่ระบบสืบพันธุ์ของโคแม่พนธุ์

  9. การออกพื้นที่ผสมเทียมตามหมูบ้านที่หน่อยผสมเทียมรับผิดชอบการออกพื้นที่ผสมเทียมตามหมูบ้านที่หน่อยผสมเทียมรับผิดชอบ

  10. การลงบันทึกใบผสมเทียม9เพื่อป้องกันการผสมแบบเลือดชิดการลงบันทึกใบผสมเทียม9เพื่อป้องกันการผสมแบบเลือดชิด

  11. แบบบันทึกข้อมูลประจำตัวสัตว์เพื่อเก็บข้อมูลการผสมในแต่ล่ะครั้งแบบบันทึกข้อมูลประจำตัวสัตว์เพื่อเก็บข้อมูลการผสมในแต่ล่ะครั้ง

  12. เรียนรู้การฝังฮอร์โมนต่างๆที่ใช้ในสัตว์เรียนรู้การฝังฮอร์โมนต่างๆที่ใช้ในสัตว์ • 1. ใช้เพื่อให้เกิดการเป็นสัดพร้อมๆกัน • 2.การสอดใส่ฮอร์โมน ณ ตำแหน่งใดเพื่อจะไม่ให้ฮอร์โมนหลุดออกมา • 3.อุปกรณ์ต่างๆที่ใช้ในการฝังฮอร์โมน

  13. ออกพื้นที่ตามหมู่บ้านออกพื้นที่ตามหมู่บ้าน • ออกพื้นที่ตามหมู่บ้านเพื่อไปฉีดยาและรักษาสัตว์โดยการฉีดยาพิษสุนัขบ้าและทำหมันสุนัขและแมวและแจกยาให้กับชาวบ้านโดยไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ ที่บ้านกระโสก อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี จัดโดย กรมปศุสัตว์อำเภอเมือง เพื่อป้องกันการแพร่เชื้อของโรคพิษสุนัขบ้า ทำหมัน และแจกยาให้กับอาสาสมัครในแต่ล่ะชุมเพื่อเป็นตัวแทนในการป้องกันโรคและการแพร่กระจายของโรคต่างๆ

  14. การทำหมันให้กับสนัขเพศเมียการทำหมันให้กับสนัขเพศเมีย

  15. การทำหมันให้กับสนัขเพศเมียการทำหมันให้กับสนัขเพศเมีย

  16. การทำหมันให้กับสนัขเพศผู้การทำหมันให้กับสนัขเพศผู้

  17. การทำหมันให้กับสนัขเพศผู้การทำหมันให้กับสนัขเพศผู้

  18. ปัญหาที่พบในการฝึกงานครั้งนี้ปัญหาที่พบในการฝึกงานครั้งนี้ • 1.ขาดความสามัคคีในหมู่คณะทำให้งานสำเร็จไปได้ช้า • 2.สภาพดิน ฟ้า อากาศ ไม่เอื้ออำนวยมากนัก เพราะการออกพื้นที่ผสมเทียมต้องให้แม่โคอยู่ในที่ร่ม อากาศเย็นสบาย มีน้ำให้กิน มีซองบังคับที่เหมาะสม • 3.ขาดความชำนาญและประสบการณ์ด้านต่างๆในการผสมเทียมทำให้การผสมทำได้ช้าลง

More Related