1 / 27

KM & QA-TQA

KM & QA-TQA. ศ. นพ. วุฒิชัย ธนาพงศธร. 25-26 ม.ค. 2551. QA IQA EQA สมศ กพร สภาวิชาชีพ TQA – Excellence. KM. CQI. IQA Goal- University EQA Goal-. National Standard พรบ. ศึกษา 2542 TQA. CQI. KM. ทำไมต้องใช้ KM ?. Question เราเสียเวลา / เสียทรัพยากร

gianna
Download Presentation

KM & QA-TQA

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. KM & QA-TQA ศ. นพ. วุฒิชัย ธนาพงศธร 25-26 ม.ค. 2551

  2. QA • IQA • EQA • สมศ • กพร • สภาวิชาชีพ • TQA – Excellence

  3. KM CQI • IQA Goal- University • EQA Goal- National Standard พรบ. ศึกษา 2542 TQA CQI KM

  4. ทำไมต้องใช้ KM?

  5. Question เราเสียเวลา / เสียทรัพยากร ในการจัดการความรู้เพื่ออะไร ? เราต้องการอะไร? จากการจัดการความรู้

  6. IQA-KM CoP of IQA

  7. KM vs MK ? • tool • process – participation • TK + EK • Share + Learn - Place • output • outcome

  8. มาตรฐานการศึกษาของชาติมาตรฐานการศึกษาของชาติ

  9. มาตรฐานอุดมศึกษา

  10. คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 มีการดำเนินการไม่ครบ 3 ข้อแรก มีการดำเนินการ 3 ข้อแรก มีการดำเนินการอย่างน้อย 4 ข้อแรก ตัวบ่งชี้ 7.3มีการพัฒนาสถาบันสู่องค์การเรียนรู้-P15 เกณฑ์มาตรฐาน: ระดับ 1.มีการทบทวนและจัดทำแผนการจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ และประชาสัมพันธ์เผยแพร่ให้ประชาคมของสถาบันรับทราบ 2.มีการดำเนินการตามแผนจัดการความรู้และประสบความสำเร็จตามเป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 3.มีการดำเนินการตามแผนจัดการความรู้และประสบความสำเร็จตามเป้าหมาย ร้อยละ 100 4. มีการติดตามประเมินผลความสำเร็จของการจัดการความรู้ 5. มีการนำผลการประเมินไปปรับใช้ในการพัฒนากระบวนการจัดการความรู้ให้ เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนงานปกติและปรับปรุงแผนการจัดการความรู้ เกณฑ์การประเมิน :

  11. IQA 44 indicator โครงร่างองค์กร ( 1.1 ) ( 2.4, 2.5, 2.6, 2.7, 2.8, 2.13, 4.1, 4.3, 5.2, 7.4 ) 5 การม่งเน้นที่ ทรัพยากรบุคคล 2 การวางแผนเชิงกลยุทธ์ 1 การนำองค์กร 7 ผลลัพธ์ของ การดำเนิน 3 การมุ่งเน้น ผู้รับบริการ 6 การจัดการ กระบวนการ ( 7.1, 7.2, 7.8, 8.1 ) 7.1 – 2.9, 2.10, 2.12, 7.6 7.2 – 2.11, 5.3, 5.4, 7.6 7.3 – 8.2 7.4 – 7.7 7.5 – 1.2, 4.4, 4.5, 5.5, 6.2, 6.3, 9.3 7.6 – 7.9, 9.3 ( 2.1, 2.2, 2.3, 2.4, 2.13, 4.1, 5.1, 6.1, 7.8, 8.1, 8.2, 9.1, 9.3 ) ( 2.2, 2.3, 2.4, 3.1, 3.2, 9.2 ) 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ( 4.1, 4.2, 4.3, 7.3, 7.5, 8.1,9.1 )

  12. หมวด 4 การวัดการวิเคราะห์และการจัดการความรู้ (Measurement, Analysis, and Knowledge Management 90 คะแนน) หมวดการวัดการวิเคราะห์และการจัดการความรู้เป็นการอธิบายว่าองค์กรมีวิธีการอย่างไรในการเลือกรวบรวมวิเคราะห์จัดการและปรับปรุงข้อมูลสารสนเทศและสินทรัพย์ทางความรู้และองค์กรมีวิธีการอย่างไรในการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศหมวดนี้ยังเป็นการอธิบายว่าองค์กรมีวิธีการอย่างไรในการทบทวนผลการดำเนินการและใช้ผลการทบทวนนี้ในการปรับปรุงผลการดำเนินการ

  13. หัวข้อ 4.1 การวัดวิเคราะห์และการปรับปรุงผลการดำเนินการขององค์กร (Measurement, Analysis, and Improvement of Organizational Performance): องค์กรมีวิธีการอย่างไรในการวัดการวิเคราะห์และการนำข้อมูลและสารสนเทศไปปรับปรุงผลการดำเนินงานขององค์กร (45 คะแนน) กระบวนการ - อธิบายว่าองค์กรมีวิธีการอย่างไรในการวัดวิเคราะห์ทำให้สอดคล้องไปในแนวทางเดียวกันทบทวนและปรับปรุงผลการดำเนินการด้านผู้เรียน/นักศึกษาและด้านการปฏิบัติการโดยการใช้ข้อมูลและสารสนเทศในทุกระดับและทุกส่วนงานขององค์กร - อธิบายว่าองค์กรมีวิธีการนำผลการทบทวนไปใช้ในการประเมินผลและปรับปรุงกระบวนการอย่างเป็นระบบอย่างไร

  14. หัวข้อ4.2การจัดการสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศและความรู้(Manmagement of Information, Information Technology and Knowledge): องค์กรมีวิธีการอย่างไรในการจัดการสารสนเทศเทดโนโลยีสารสนเทศและความรู้ขององค์กร (45 คะแนน) กระบวนการ - อธิบายว่าองค์กรมีวิธีการอย่างไรเพื่อให้มั่นใจในคุณภาพและความพร้อมใช้งานของข้อมูลสารสนเทศซอฟแวร์และฮาร์ดแวร์ที่จำเป็นสำหรับผู้ปฏิบัติงานผู้เรียน/นักศึกษาและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียผู้ส่งมอบคู่ความร่วมมือและพันธมิตร - อธิบายวิธีการที่องค์กรสร้างและจัดการสินทรัพย์ทางความรู้

  15. ยุทธศาสตร์ ในการจัดการความรู้ Action plan ในการจัดการความรู้

  16. Learning Organization 1. Share vision 2. Team Learning 3. Personal Mastery 4. Mental Model 5. Systems Thinking

  17. บันไดสามขั้น สู่การเป็น LO (องค์กรแห่งการเรียนรู้) สร้าง “วิสัยทัศน์” Purpose, Direction, Shared Vision, Leadership สร้าง “ปัจจัย” Process, Infrastructure, Management สร้าง “ใจ” Passion, People ดร.ประพนธ์ ผาสุขยืด

  18. KM เชิงองค์กร • โยงยุทธศาสตร์ • จัดทำแผน / กำหนด KPI • ใช้การประเมิน • KM กลุ่ม/เครือข่าย • แลกเปลี่ยน Tacit • พัฒนา “คุณอำนวย” • สร้าง CoPs • KM ปัจเจก / ใจ • เริ่มจากเรื่องที่สนใจ • สร้างแรงบันดาลใจ • ดูสิ่งที่กำกับอยู่ในใจ • (Mindset, Mental Model) พันธกิจ/วิสัยทัศน์ เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ KM Strategies การจัดการความรู้ (Explicit Knowledge) KM Focus Areas การจัดการความรู้สึก (Tacit Knowledge) ต้องมีทั้งสามวงจึงจะเป็น LO Desired State of KM Action Plans (6-step model) การจัดการความรู้สึกตัว (Mental Model) KM 3 รูปแบบ

  19. MAKE Award 8 items Questionnaires Most Admired Knowledge Enterprises Teleos-UK (1998)

  20. 5 4 3 2 1 People’s positions determine what they see and need to know University Courtesy Dr SA Perlmutter and adapted from Elliot Jaques – Stratified Systems Theory

  21. Goal for KM SWOT analysis Select Strategy& KPI Action plan with PI PDCA with CQI

  22. 1 พันธกิจ/วิสัยทัศน์ 2 3 • ความรู้ที่สำคัญต่อองค์กร • ความรู้เกี่ยวกับลูกค้า • ความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสียต่างๆ • ประสบการณ์ความรู้ที่องค์กรสั่งสม • ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการ • ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ และบริการ • ความรู้ที่มีอยู่ในบุคลากร • ฯลฯ ประเด็นยุทธศาสตร์ ปัญหา กลยุทธ์ (Work process) กระบวนงาน KM Focus Areas (ขอบเขต KM) (เป้าหมาย KM) Desired State of KM Focus Areas การยกย่องชมเชย และการให้รางวัล (Recognltion and Rewards) เป้าหมาย (Desired state) การเรียนรู้ (Learning) การวัดผล (Measurements) KM Action Plans (6-step model) Change Management Process (แผนการจัดการความรู้) World-Class KM Environment กระบวนการและเครื่องมือ (Process Tools) การสื่อสาร (Communication) การเตรียมการ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรม(Transltion and Behavior Management)

  23. กรอบความคิด KM ของ Bonnie Rubenstaein-Montano • การค้นหาว่าองค์กรมีความรู้อะไรบ้าง ชนิด/รูปแบบใด อยู่ที่ใครและความรู้ที่จำเป็นต่อองค์กรมีอะไรบ้าง (Knowledge identification) • การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) • การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization) • การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) • การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) • การแลกเปลี่ยน และแบ่งปันความรู้ (Knowledge Sharing) • การเรียนรู้ (Learning)

  24. 4 D model of KM implementation plan • Discover • Design • Deliver • Deploy

  25. Modified 4D model for KM implementation plan

  26. KSF ในวางแผนยุทธศาสตร์ KM • การตัดสินใจ- ทำ/ไม่ทำ KM ? • กำหนดเป้าหมาย - Goal • 3. การดำเนินการ PDCA • 4. สร้างองค์ความรู้/นวัตกรรม • 5. การใช้ความรู้/การแลกเปลี่ยน/การใช้ความรู้ซ้ำ

  27. ฝันร่วมกัน เถียงกันอย่างสร้างสรรค์ ทะเลาะกันด้วยปัญญา

More Related