1 / 12

องค์ประกอบที่ 1

องค์ประกอบที่ 1. Backward Design. โดย สายวิชาเคมี ชั้นปีที่ 3. ที่มาของ การออกแบบย้อนกลับ ( Backward Design ). สร้างรูปแบบการเรียนรู้ โดย. แกรนท์ วิกกินส์ ( Grant Wiggins ). เจย์ แม็คไทค์ ( Jay McTighe ). ปี 1998. ความหมายการออกแบบย้อนกลับ ( Backward Design ).

Download Presentation

องค์ประกอบที่ 1

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. องค์ประกอบที่ 1 Backward Design โดย สายวิชาเคมีชั้นปีที่ 3

  2. ที่มาของการออกแบบย้อนกลับ(Backward Design) สร้างรูปแบบการเรียนรู้ โดย แกรนท์ วิกกินส์ (Grant Wiggins) เจย์ แม็คไทค์(Jay McTighe) ปี 1998

  3. ความหมายการออกแบบย้อนกลับ(Backward Design) กระบวนการออกแบบการเรียนรู้ที่ย้อนกลับ โดยเริ่มจากเป้าหมายการเรียนรู้ที่พึงประสงค์ จากนั้นจึงออกแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียน มีความสามารถตามเป้าหมายที่กำหนดไว้

  4. ขั้นตอนการออกแบบย้อนกลับ (Backward Design) การกำหนดเป้าหมายที่พึงประสงค์ (Identify desired results) การกำหนดหลักฐานที่แสดงว่าผู้เรียน ได้บรรลุเป้าหมายที่พึงประสงค์ (Determine acceptable evidence) การวางแผนประสบการณ์การเรียนรู้ และการสอน(Plan Learning Experiences and instruction)

  5. ขั้นตอนที่ 1 การกำหนดเป้าหมายที่พึงประสงค์ • มาตรฐานการเรียนรู้ • ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ความเข้าใจที่คงทน ความรู้ทักษะเฉพาะวิชา ทักษะคร่อมวิชา จิตพิสัย

  6. ขั้นตอนที่ 2 การกำหนดหลักฐานของการเรียนรู้ที่ยอมรับได้ • ภาระงานและการประเมิน การตรวจสอบความเข้าใจอย่างไม่เป็นทางการ การให้โจทย์ หรือประเด็นปัญหาให้นักเรียนไปขบคิด การสังเกต หรือพูดคุย การทดสอบ การลงมือปฏิบัติ/โครงงาน

  7. *หมายเหตุ จะประเมินอะไรบ้างให้กำหนดไว้ในช่องการประเมินแต่ละช่อง

  8. ขั้นตอนที่ 3การวางแผนประสบการณ์การเรียนรู้ และการสอน • กระบวนการเรียนรู้ Rubric -เอกสารประกอบ การเรียน -ใบงาน • อุปกรณ์ • การทดลอง

  9. คำถาม 3 ข้อ • ขั้นที่ 1“อะไรที่มีคุณค่าควรแก่การสร้างความเข้าใจ” • ขั้นที่ 2 “อะไรเป็นหลักฐานที่แสดงความเข้าใจนั้น” • ขั้นที่ 3 “ประสบการณ์การเรียนรู้และการสอนใดที่เสริมสร้างความเข้าใจ • ความสนใจ และความเป็นเลิศในการสร้างความเข้าใจนั้น”

  10. ตารางแสดงข้อแตกต่างของตารางแสดงข้อแตกต่างของ การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้แบบเดิมกับแบบ Backward Design

  11. 1 2 สถานการณ์ปัญหา/คำถามสำคัญ (สถานการณ์ปัญหาหรือคำถามสำคัญ ที่ทำให้นักเรียนดำเนินกิจกรรมใน ช่องที่ 3 จนปรากฏหลักฐานตาม ช่องที่ 2 ซึ่งเป็นตัวชี้วัดการบรรลุผล ในช่องที่ 1) 3 4

  12. Any questions!!!!!! The End………

More Related