1 / 27

หัวข้อ และโครงร่างการค้นคว้าแบบ อิสระ หลักสูตร การจัดการความรู้ วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต

หัวข้อ และโครงร่างการค้นคว้าแบบ อิสระ หลักสูตร การจัดการความรู้ วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต วิทยาลัยศิลปะ สื่อ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 1. ชื่อและนามสกุล. ว่า ที่ร้อยตรีรัชต์พงษ์ หอ ชัยรัตน์ รหัส 542132031 Acting Sub Lt. Ratchapong Hochairat Code 542132031.

Download Presentation

หัวข้อ และโครงร่างการค้นคว้าแบบ อิสระ หลักสูตร การจัดการความรู้ วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หัวข้อและโครงร่างการค้นคว้าแบบอิสระหัวข้อและโครงร่างการค้นคว้าแบบอิสระ หลักสูตรการจัดการความรู้วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต วิทยาลัยศิลปะ สื่อ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

  2. 1. ชื่อและนามสกุล ว่าที่ร้อยตรีรัชต์พงษ์ หอชัยรัตน์ รหัส 542132031 Acting Sub Lt. Ratchapong Hochairat Code 542132031

  3. 2. ชื่อเรื่องการค้นคว้าแบบอิสระ 2.1 ภาษาไทย : การพัฒนาระบบสารสนเทศ คลังความรู้ชุมชน เพื่อการจัดการความรู้ เรื่อง บ้านหลังน้ำลด ของจังหวัดเชียงใหม่ 2.2 ภาษาอังกฤษ : Development of Information Systems Knowledge Community Center for Knowledge Management after the Flood of Chiangmai Province

  4. 3. หลักการ ทฤษฎี เหตุผล และ/หรือสมมติฐาน -การเกิดอุทกภัย น้ำท่วม ในพื้นที่ภาคเหนือ โดยเฉพาะระหว่างเดือนสิงหาคม – ตุลาคม จะเป็นช่วงของฤดูมรสุมที่จะก่อให้เกิดความ เสียหายข้อมูลศูนย์อุทกวิทยาและบริหารน้ำภาคเหนือตอนบน -สถานการณ์น้ำท่วมของจังหวัดเชียงใหม่ เกิดผลกระทบหลายด้าน โดยเฉพาะ บ้านเรือนเสียหาย 1,557 หลัง ข้อมูลสำนักงานป้องกันและบรรเทา สาธารณจังหวัดเชียงใหม่ -หลายหน่วยงานทั้งภาครัฐเอกชน ผู้เชี่ยวชาญ อาสาสมัคร จิตอาสา ต่างพยายาม ที่จะสนับสนุนให้ความรู้ความช่วยเหลือแตกต่างกันไป ตามปัจจัยและความพร้อม

  5. 3. หลักการ ทฤษฎี เหตุผล และ/หรือสมมติฐาน

  6. 3. หลักการ ทฤษฎี เหตุผล และ/หรือสมมติฐาน -ความรู้หรือการตอบปัญหาอาจจะไม่ครอบคลุม และระบบสารสนเทศความรู้ปัจจุบัน อาจจะมีข้อมูลที่หลากหลาย ไม่มีศูนย์กลางข้อมูลเฉพาะเรื่อง และก็ยังไม่ได้มีการจัดการ ความรู้ที่ดี ทำให้ประชาชนอาจจะได้รับความรู้ไม่ถูกต้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ ของแต่บ้าน อย่างแท้จริง -บ้านเรือนหรือที่อยู่อาศัย ซึ่งเป็นปัจจัยสี่ เป็นสิ่งจำเป็นเร่งด่วน ที่ต้องการฟื้นฟูซ่อมแซม -การจัดการความรู้ จึงเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้บรรลุเป้าหมายและระบบสารสนเทศ มีความสำคัญในการสนับสนุน ในการให้ความรู้แก้ไขปัญหาอย่างถูกวิธี

  7. 3. หลักการ ทฤษฎี เหตุผล และ/หรือสมมติฐาน -คลังความรู้ชุมชน มีระบบสารสนเทศด้านการจัดการความรู้ แต่ไม่สมบูรณ์จำเป็นต้องพัฒนา เพื่อประโยชน์ต่อประชาชน ในการรับความรู้ที่ถูกต้อง และเหมาะสม

  8. 3. หลักการ ทฤษฎี เหตุผล และ/หรือสมมติฐาน

  9. 3. หลักการ ทฤษฎี เหตุผล และ/หรือสมมติฐาน

  10. 4. แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • ภายใต้แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้ • 4.1 แนวคิดเกี่ยวกับความรู้และการจัดการความรู้ • -ความหมายความรู้ • -แหล่งเก็บความรู้ในองค์การ • -ประเภทของความรู้ • -ระดับความรู้ • -การสร้างความรู้ในองค์การ • -ความหมายของการจัดการความรู้ • -กระบวนการจัดการความรู้ • -องค์ประกอบหลักของการจัดการความรู้ • -ปัจจัยเอื้อที่ทำให้การจัดการความรู้ประสบความสำเร็จ

  11. 4. แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • ภายใต้แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้ • 4.1 แนวคิดเกี่ยวกับความรู้และการจัดการความรู้ • จากแนวคิดเกี่ยวกับความรู้และการจัดการความรู้ ทำให้เราสามารถรู้ว่าความรู้คืออะไร เราสามารถหาความรู้ได้จากแหล่งใดบ้าง มีความรู้กี่ประเภท แต่ละประเภทเป็นอย่างไร การสร้างความรู้ทำได้อย่างไร แล้วเราสามารถนำมาจัดการความรู้ได้อย่างไร ซึ่งเราสามารถดำเนินการตามกระบวนการจัดการความรู้ 7 กระบวนการที่จะนำมาศึกษา องค์ประกอบหลักของการจัดการความรู้ แบบจำลองปลาทู ทำให้เราได้ทราบว่า เรื่องที่เราจะทำ ทำ KM ไปทำไมให้เราได้วิเคราะห์ดู และอีกอย่างการแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกันก็เป็นหัวใจสำคัญในการทำ KM และสิ่งที่เราได้จัดเก็บและแลกเปลี่ยนความรู้เราสามารถนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในการถ่ายทอดและเผยแพร่องค์ความรู้และแลกเปลี่ยนหมุนเวียนได้เช่นกัน ซึ่งมีอยู่หลายปัจจัยที่ทำให้การจัดการความรู้ประสบความสำเร็จ

  12. 4. แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • ภายใต้แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้ • 4.2 แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ • -ความหมายของระบบสารสนเทศ • -ประเภทของระบบสารสนเทศ • -ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศ • -ขั้นตอนการจัดทำระบบสารสนเทศ • -ประโยชน์ของการจัดทำระบบสารสนเทศ

  13. 4. แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • ภายใต้แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้ • 4.2 แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ • จากแนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ นั้นทำให้เราได้ทราบถึงประเภทของระบบสารสนเทศ ที่เราจะสามารถวิเคราะห์ได้ว่าเรื่องที่เราได้ศึกษานั้น เป็นระบบสารสนเทศประเภทไหน ส่วนประกอบ ๆ ด้วยอะไรบ้าง ถ้าเราจะทำจะต้องเริ่มต้นที่ขั้นตอนอะไรมีกี่ขั้นตอน แล้วสิ่งที่เราจะพัฒนาระบบสารสนเทศสามารถช่วยก่อให้เกิดประโยชน์ ด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผลได้อย่างไรมากน้อยแค่ไหน

  14. 4. แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • ภายใต้แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้ • 4.3 แนวคิดเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต • -ความหมายของอินเตอร์เน็ต • -การให้บริการต่างๆ บนอินเตอร์เน็ต

  15. 4. แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • ภายใต้แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้ • จากแนวคิดเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตที่ได้ศึกษามา จะทำให้เราได้รับรู้ว่าอินเตอร์เน็ตมีความสำคัญในการเผยแพร่และการถ่ายทอดองค์ความรู้ที่เราได้รวบรวมสังเคราะห์ความรู้ให้ถึงประชาชนได้อย่างสะดวกรวดเร็ว และทราบถึงว่ามีการให้บริการบ้างบนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต และบริการเหล่านั้นสามารถนำมาประยุกต์ใช้กับงานที่เราได้ศึกษา มีอะไรบ้างที่เป็นประโยชน์

  16. 4. แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • ภายใต้แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้ • 4.4 ทบทวนวรรณกรรม • -การนำระบบสารสนเทศมาใช้เพื่อการจัดการความรู้ • -การจัดการความรู้กับการพัฒนางาน และชุมชน • จากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องจะเห็นได้ว่า มีผู้ที่ศึกษาได้นำ หลักการของการจัดการความรู้ และระบบสารสนเทศมาพัฒนาก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในองค์กร หน่วยงาน หรือแม้กระทั้งการพัฒนาชุมชน ด้วยเหตุนี้เองผู้ศึกษาจึงได้เห็นประโยชน์จากงานต่างๆ ที่มีผู้ได้ศึกษามาแล้ว จึงได้นำหลักการทฤษฎี ผลงานศึกษานำมาประยุกต์ใช้และพัฒนาต่อยอดให้ก่อเกิดประโยชน์ต่อส่วนรวม ในการศึกษาวิจัยหัวข้อในครั้งนี้

  17. 5. วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1. เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศ คลังความรู้ชุมชน สำหรับการจัดการความรู้ เรื่อง บ้านหลังน้ำลด ของจังหวัดเชียงใหม่ ให้ตอบสนองความต้องการ ของประชาชน และเป็นศูนย์กลางความรู้ ในการแก้ปัญหา น้ำท่วม เรื่อง บ้านหลังน้ำลด อย่างถูกต้องและเหมาะสมมากขึ้น 2. เพื่อประเมินผลของการใช้ระบบสารสนเทศ คลังความรู้ชุมชน ที่พัฒนาขึ้น

  18. 6. ประโยชน์ที่จะได้รับจากการศึกษาเชิงทฤษฎีและ/หรือเชิงประยุกต์ 1. ได้ระบบสารสนเทศ คลังความรู้ชุมชน ที่มีการจัดการความรู้ เรื่อง บ้านหลังน้ำลด ที่ประชาชน สามารถ นำความรู้ไปใช้ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมมากขึ้น 2. มีศูนย์กลางความรู้ เรื่อง บ้านหลังน้ำลด สำหรับการช่วยเหลือฟื้นฟู ผู้ประสบภัย น้ำท่วมหลังน้ำลดแก่ประชาชน หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการนำไปเรียนรู้ และประยุกต์ใช้

  19. 6. ประโยชน์ที่จะได้รับจากการศึกษาเชิงทฤษฎีและ/หรือเชิงประยุกต์ 3. มีระบบการเก็บรักษาองค์ความรู้เดิม แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ใหม่ๆ และเพิ่มพูน องค์ความรู้ใหม่ๆในลักษณะของการร่วมมือทางวิชาการ จากนักวิชาการ ผู้เชี่ยวชาญ และผู้มีความรู้ ในความรู้ สำหรับการช่วยเหลือฟื้นฟู ผู้ประสบภัย น้ำท่วมหลังน้ำลด 4. สามารถนำแนวคิดและขั้นตอนไปประยุกต์ใช้เพื่อการวางแผนและกำหนด แนวทางปฏิบัติการในการพัฒนาระบบสารสนเทศ คลังความรู้ชุมชน เพื่อการจัดการความรู้ในเรื่องอื่นๆ ต่อไป

  20. 7. ขอบเขตและวิธีการวิจัย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัย และพัฒนา (Research and Development) การพัฒนาระบบสารสนเทศ คลังความรู้ชุมชน เพื่อการจัดการความรู้ เรื่อง บ้านหลังน้ำลด ของจังหวัดเชียงใหม่ ให้ถูกต้องและเหมาะสม โดยการประยุกต์ขั้นตอนตามแนวคิดการจัดการความรู้ และใช้ระเบียบวิจัยแบบเชิงคุณภาพ(Qualitative research) และกระบวนการขั้นตอนตามแนวคิด 7 ขั้นตอน ของการจัดการความรู้ ได้แก่ การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge Identification) การสร้างและแสวงหาความรู้ (KnowledgeCreation and Acquisition) การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization) การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) การเรียนรู้ (Leaning)

  21. 7. ขอบเขตและวิธีการวิจัย • 1. การบ่งชี้ความรู้ • 2. การสร้าง และแสวงหาความรู้ • 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ • 4. การประมวล และกลั่นกรองความรู้ • 5. การออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการความรู้ • 6. การประเมินคุณภาพสารสนเทศเพื่อการจัดการเรียนรู้ • 7. การนำ ISO 12207 มาเป็นกรอบในการดำเนินกระบวนการทำงาน 15 กิจกรรม

  22. 8. สถานที่ที่ใช้ในการดำเนินการวิจัยและรวบรวมข้อมูล ห้องคลังความรู้ชุมชน สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตั้งอยู่เลขที่ 98 หมู่ที่ 8 ตำบลป่าป้อง อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่

  23. 9. ระยะเวลาในการดำเนินการวิจัย เดือน มีนาคม – กรกฎาคม 2555

  24. 10. เอกสารอ้างอิง Marquardt,M. (1996), Building the Learning Organization. New York:McGrawHill, Nonaka,kujiro and Takeuchi,Hirotaka. (2000), Classic work: Theory of Organizational KnowledgeCreation.In Morey, D., Maybury, M.T. and Thuraisingham, B.M. Knowledge Management: Classic and Contemporary Work .Mass: The MIT Press. กรณ์ดนัย วิทยานุการุณ. (2551). การออกแบบสารสนเทศเพื่อการจัดการความรู้เรื่องเรือนกาแล วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สื่อศิลปะและการออกแบบสื่อ) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. คลังความรู้สำนักงานชลประทานที่15. 2554. เรื่อง ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา http://irrigation.rid.go.th/rid15/ (31 ธันวาคม 2554) ดร.ณพศิษฏ์ จักรพิทักษ์. ทฤษฎีการจัดการความรู้. วิทยาลัยศิลปะ สื่อ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2552 ธันยพร วณิชฤทธา. (2550). การจัดการความรู้ในชุมชน: กรณีศึกษาด้านการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ โดยชุมชน มีส่วนร่วม จังหวัดสมุทรสงครามวิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีการศึกษา) มหาวิทยาลัยศิลปากร

  25. 10. เอกสารอ้างอิง บุญดี บุญญากิจ และคณะ. การจัดการความรู้ จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ. สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ, บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน), 2549. ปณิตา พ้นภัย. การบริหารความรู้ (Knowledge Management) : แนวคิดและกรณีศึกษา. เอกสารวิจัย ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2544 ประพนธ์ ผาสุกยืด. การจัดการความรู้. สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.) บริษัท ใยไหม ครีเอทีฟกรุ๊ฟ จำกัด, 2549. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภาสกร เรืองรอง. 2550. เรื่อง อินเทอร์เน็ตคืออะไร. [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา http://www.thaiwbi.com/course/internet/internet.html (31 ธันวาคม 2554) พรธิดา วิเชียรปัญญา. การจัดการความรู้ : พื้นฐานและการประยุกตใช้. กรุงเทพฯ. ธรรกมลการพิมพ์ ,2547 ภคณัฐฌายีเนตร. (2551). การพัฒนาระบบต้นแบบการจัดการความรู้สำหรับฝ่ายบริหาร โครงข่ายจังหวัดลำปาง บริษัท ทีทีแอนด์ที จำกัด (มหาชน) การค้นคว้าแบบอิสระบริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. โรงเรียงเม็งรายมหาราชวิทยาคม. 2554. เรื่อง บทเรียนโปรแกรมการเรียนการสอนผ่านเว็บ เรื่องอินเตอร์เน็ต [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา http://tc.mengrai.ac.th (31 ธันวาคม 2554) วิจารณ์ พานิช. การจัดการความรู้กับการบริหารราชการไทย. กรุงเทพฯ : สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้ เพื่อสังคม, 2548

  26. 10. เอกสารอ้างอิง วิชาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ มหาวิทยาลัยนอร์ท – เชียงใหม่. 2554. เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ ระบบสารสนเทศ [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา http://elearning.northcm.ac.th (31 ธันวาคม 2554) ศิริขวัญ ศรีทับทิม. (2552). การพัฒนาระบบการรวบรวมความรู้ ด้านคหกรรมศาสตร์ กรณีศึกษา ภูมิปัญญา ท้องถิ่นจังหวัดกาญจนบุรี การค้นคว้าแบบอิสระวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีสารสนเทศ) มหาวิทยาลัยศิลปากร สาระการเรียนรู้ การงานอาชีพ และเทคโนโลยีสื่อมัลติมีเดีย โรงเรียนบ้านโนนกู่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ขอนแก่น เขต 1.  2554. เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา http://school.obec.go.th (31 ธันวาคม 2554) สุชาดา กีระนันทน์. (2541). เทคโนโลยีสารสนเทศสถิติ:ข้อมูลในระบบสารสนเทศ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สุรศักดิ์ สันติสถิตพงศ์ (2551). ระบบจัดการความรูสําหรับโครงการ ศูนยพัฒนาเด็กคริสตจักรเวียงทอง การค้นคว้าแบบอิสระวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมซอฟตแวร) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. สำนักงาน ก.พ.ร. และสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ. การจัดการความรู้จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ,2548 สำนักงาน ก.พ.ร. และสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ. คู่มือจัดทำแผนการจัดการความรู้. กรุงเทพฯ,2548 สำนักงาน ก.พ.ร. คู่มือเทคนิคและวิธีการบริหารจัดการสมัยใหม่ตามแนวทางการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี : การบริหารความรู้. กรุงเทพฯ ,2548 อรวรรณ อุทัยมณีรัตน์. (2551). การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาการปฏิบัติงานด้านกิจการนักศึกษาของ มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ การค้นคว้าแบบอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (จิตวิทยาการศึกษาและ การแนะแนว)มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่

  27. 10. เอกสารอ้างอิง http://www.kaewpanya.rmutl.ac.th/m2554/

More Related