1 / 36

การนำเสนองานวิจัย รายวิชาสัมมนาเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ เรื่อง

1. การนำเสนองานวิจัย รายวิชาสัมมนาเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ เรื่อง. ศักยภาพการส่งออกข้าวไทย กรณีศึกษาเปรียบเทียบข้าวไทย – ข้าวเวียดนาม. 12 กุมภาพันธุ์ 2550. การศึกษาเปรียบเทียบศักยภาพในการแข่งขันของภาคเศรษฐกิจข้าวไทยและภาคเศรษฐกิจข้าวเวียดนามในตลาดข้าวระหว่างประเทศ

Download Presentation

การนำเสนองานวิจัย รายวิชาสัมมนาเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ เรื่อง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 1 การนำเสนองานวิจัยรายวิชาสัมมนาเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศเรื่อง ศักยภาพการส่งออกข้าวไทยกรณีศึกษาเปรียบเทียบข้าวไทย – ข้าวเวียดนาม 12 กุมภาพันธุ์ 2550

  2. การศึกษาเปรียบเทียบศักยภาพในการแข่งขันของภาคเศรษฐกิจข้าวไทยและภาคเศรษฐกิจข้าวเวียดนามในตลาดข้าวระหว่างประเทศการศึกษาเปรียบเทียบศักยภาพในการแข่งขันของภาคเศรษฐกิจข้าวไทยและภาคเศรษฐกิจข้าวเวียดนามในตลาดข้าวระหว่างประเทศ วิธีการศึกษาแบ่งออกเป็น 3 ส่วนด้วยกัน คือ การศึกษาเปรียบเทียบข้อมูลในภาคการผลิต ภาคการบริโภค และภาคการส่งออกของภาคเศรษฐกิจข้าวไทยและเวียดนาม การวิเคราะห์ความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ (Comparative Advantage) การวิเคราะห์ทางการตลาดโดย BCG Matrix 2 วิธีการศึกษา

  3. 3 วิธีการศึกษา “ต้องการศึกษาว่าเมื่อเวียดนามสามารถพัฒนาศักยภาพในการแข่งขัน ของภาคเศรษฐกิจข้าวจนขึ้นมาเป็นประเทศผู้ส่งออกข้าวรายสำคัญในตลาด ข้าวระหว่างประเทศและถือเป็นคู่แข่งที่สำคัญของไทยในตลาดข้าวระหว่าง ประเทศนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2532 เป็นต้นมา แล้วศักยภาพในการแข่งขัน ของภาคเศรษฐกิจข้าวไทยในตลาดข้าวระหว่างประเทศโดยเปรียบเทียบกับ เวียดนามมีสถานะเป็นอย่างไร?”

  4. 4 การศึกษาเปรียบเทียบข้อมูลในภาคการผลิต ภาคการบริโภค และภาคการส่งออกของภาคเศรษฐกิจข้าวไทยและเวียดนาม

  5. 5 ช่วงเวลาที่ศึกษา • ช่วงที่ 1: พ.ศ. 2520 – 2531 เป็นช่วงเวลาก่อนที่เวียดนามจะกลับเข้าสู่ตลาดข้าว ระหว่างประเทศอีกครั้งในปี พ.ศ. 2532 • ช่วงที่ 2: พ.ศ. 2532 – 2542 เป็นช่วงเวลานับตั้งแต่ที่เวียดนามกลับเข้าสู่ตลาด ข้าวระหว่างประเทศจนถึงในปี พ.ศ. 2542 ซึ่งเป็นปีที่เวียดนามสามารถส่งออก ข้าวได้ในปริมาณที่สูงถึง 4.5 ล้านตัน (โดยในปี พ.ศ. 2540 ถือเป็นครั้งแรกที่ เวียดนามได้ขึ้นเป็นประเทศผู้ส่งออกข้าวอันดับ 2 ของโลกรองจากไทย) • ช่วงที่ 3: พ.ศ. 2543 – 2548 เป็นการปรับตัวในระยะหลังของเวียดนาม และ เป็นช่วงเวลาที่เวียดนามเป็นประเทศผู้ส่งออกข้าวอันดับที่ 2 ในตลาดข้าวระหว่าง ประเทศเป็นส่วนใหญ่

  6. 6 ภาคการผลิต • พื้นที่เพาะปลูกข้าว • ปริมาณผลผลิตข้าวต่อพื้นที่เพาะปลูก • ปริมาณผลผลิตข้าว

  7. 7 พื้นที่เพาะปลูกข้าวของไทยและเวียดนามในปี พ.ศ. 2520 – 2548 (พันเฮกตาร์) ที่มา: FAO STAT

  8. 8 การเปรียบเทียบพื้นที่เพาะปลูกข้าวและอัตราการขยายตัวของพื้นที่เพาะปลูก ที่มา: FAO STAT

  9. 9 ปริมาณผลผลิตข้าวต่อพื้นที่เพาะปลูกข้าวของไทยและเวียดนามในปี พ.ศ. 2520 – 2548 (ตัน/เฮกตาร์) ที่มา: FAO STAT

  10. 10 การเปรียบเทียบผลผลิตข้าวต่อพื้นที่และอัตราการขยายตัวของผลผลิตต่อพื้นที่ ที่มา: FAO STAT

  11. 11 ปริมาณผลผลิตข้าวของไทยและเวียดนามในปี พ.ศ. 2520 – 2548 (พันตันข้าว) ที่มา: FAO STAT

  12. 12 การเปรียบเทียบปริมาณผลผลิตข้าวและอัตราการขยายตัวของปริมาณผลผลิต ที่มา: FAO STAT

  13. 13 การกระจายตัวของปริมาณผลผลิตข้าว (พันตัน) ในแต่ละช่วงเวลา ที่มา: FAO STAT

  14. 14 ภาคการบริโภค • ปริมาณการบริโภคข้าว • สัดส่วนของการบริโภคข้าวต่อปริมาณผลผลิตข้าวในประเทศ

  15. 15 ปริมาณการบริโภคข้าวของไทยและเวียดนามในปี พ.ศ. 2533 – 2547 (พันตัน) ที่มา: FAO STAT

  16. 16 การเปรียบเทียบปริมาณการบริโภคข้าวและอัตราการขยายตัวของปริมาณการบริโภค ที่มา: FAO STAT

  17. 17 สัดส่วนของปริมาณการบริโภคข้าวต่อปริมาณผลผลิตข้าว (ร้อยละ) ที่มา: FAO STAT

  18. 18 สัดส่วนของปริมาณการบริโภคข้าวต่อปริมาณผลผลิตข้าวโดยเฉลี่ย (ร้อยละ) ที่มา: FAO STAT

  19. 19 ภาคการส่งออก • ชนิดข้าวที่ส่งออก • ตลาดส่งออกข้าว • ปริมาณการส่งออกข้าว • มูลค่าการส่งออก • ราคาส่งออกข้าว

  20. 20 ปริมาณการส่งออกข้าวของไทยและเวียดนามในปี พ.ศ. 2520 – 2549 (พันตัน) ที่มา: FAO STAT

  21. 21 การเปรียบเทียบปริมาณการส่งออกข้าว และอัตราการขยายตัวของการส่งออก ที่มา: FAO STAT

  22. 22 การกระจายตัวของปริมาณการส่งออกข้าว (พันตัน) ในแต่ละช่วงเวลา ที่มา: FAO STAT

  23. 23 สัดส่วนของปริมาณการส่งออกข้าวในตลาดข้าวระหว่างประเทศโดยเฉลี่ย ที่มา: FAO STAT

  24. 24 มูลค่าการส่งออกข้าวของไทยและเวียดนามในปี พ.ศ. 2520 – 2547 (ล้าน US$) ที่มา: FAO STAT

  25. 25 การเปรียบเทียบมูลค่าการส่งออกข้าวและอัตราการขยายตัวของมูลค่าการส่งออก ที่มา: FAO STAT

  26. 26 สัดส่วนของมูลค่าการส่งออกข้าวในตลาดข้าวระหว่างประเทศโดยเฉลี่ย ที่มา: FAO STAT

  27. 27 ราคาข้าวส่งออกโดยเฉลี่ยของไทยและเวียดนามในปี พ.ศ. 2533 – 2547 (US $/ตัน) ที่มา: FAO STAT

  28. 28 การเปรียบเทียบการกระจายของราคาส่งออกข้าวโดยเฉลี่ย ที่มา: FAO STAT

  29. 29 การวิเคราะห์ความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ (Comparative Advantage)

  30. 30 ดัชนีความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบของสินค้าข้าวเมื่อเทียบกับสินค้าทั้งหมดของไทยและเวียดนามในปี พ.ศ. 2528 – 2546 ที่มา: FAO STAT

  31. 31 การวิเคราะห์ทางการตลาดโดยใช้ BCG Matrix

  32. 32 BCG Matrix Relative Market Share Market Growth Rate

  33. 33 ช่วงเวลาที่ศึกษา • ช่วงที่ 1: พ.ศ. 2520 – 2531 • ช่วงที่ 2: พ.ศ. 2532 – 2536 • ช่วงที่ 3: พ.ศ. 2537 – 2542 • ช่วงที่ 4: พ.ศ.2543 – 2549

  34. 34 ผลการศึกษา ที่มา: FAO STAT

  35. 35 ผลการวิเคราะห์ BCGMatrix Market Growth Rate 0 10 >10 สินค้าดาวรุ่ง (Star) สินค้าที่มีปัญหา (?) สินค้าทำเงิน (Cash Cow) สินค้าที่ตกต่ำ (Dog) 3 4 2 1 >1 1 0 Relative Market Share

  36. 36 Answer and Question

More Related