1 / 28

โดย นางสาวอัจฉรา เข็มทองใหญ่ นิติกรชำนาญการ สำนักกฎหมาย กรมศุลกากร

การสัมมนา ปัญหาอุปสรรคในการเปิดเสรีทางการค้าของไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน. ณ ห้องกัญญาลักษณ์ บอล รูม โรงแรม โฟร์วิงส์ สุขุมวิท ๒๖ วันศุกร์ที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ เวลา ๐๙.๐๕-๑๐.๐๕ น. “มาตรการทางกฎหมายในการส่งเสริมการค้าและการขนส่งข้ามแดน”. โดย นางสาวอัจฉรา เข็มทองใหญ่ นิติกรชำนาญการ

Download Presentation

โดย นางสาวอัจฉรา เข็มทองใหญ่ นิติกรชำนาญการ สำนักกฎหมาย กรมศุลกากร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสัมมนา ปัญหาอุปสรรคในการเปิดเสรีทางการค้าของไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน ณ ห้องกัญญาลักษณ์ บอลรูม โรงแรมโฟร์วิงส์ สุขุมวิท ๒๖ วันศุกร์ที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ เวลา ๐๙.๐๕-๑๐.๐๕ น. “มาตรการทางกฎหมายในการส่งเสริมการค้าและการขนส่งข้ามแดน” โดย นางสาวอัจฉรา เข็มทองใหญ่ นิติกรชำนาญการ สำนักกฎหมาย กรมศุลกากร

  2. ความเป็นมาและความหมายของการค้าชายแดนความเป็นมาและความหมายของการค้าชายแดน • • ประชาชนมีการสัญจรข้ามแดนระหว่างรัฐ:รัฐ • • มีการค้าขายเล็กๆน้อยๆ บริเวณชายแดน (ทางบก) ณ จุดผ่านแดน ชั่วคราว/ถาวร (ตาม พรบ.คนเข้าเมือง พ.ศ.2522) หรือจุดผ่อนปรน • • จุดผ่อนปรน (Check Point for Border Trade) • • จุดผ่านแดนชั่วคราว (Temporary Crossing Point) • • จุดผ่านแดนถาวร (Permanent Crossing Point) • • พิธีการศุลกากรเป็นไปในลักษณะ “Simplify”

  3. ประโยชน์ของการค้าชายแดนประโยชน์ของการค้าชายแดน • - มนุษยธรรม • - ส่งเสริมความสัมพันธ์ระดับท้องถิ่น • - ส่งเสริมการค้ารายย่อย และการสัญจรของประชาชน • - ส่งเสริมการท่องเที่ยว • - ลดอาชญากรรม

  4. วิวัฒนาการของการค้าชายแดนวิวัฒนาการของการค้าชายแดน • - ปริมาณการค้าและชนิดสินค้ามากขึ้น • - มีลักษณะการค้าในเชิงพาณิชยกรรม • -Border Trade Inter State • ภาครัฐกำหนดจุดเข้า-ออก และสถานที่ดำเนินการ • อย่างถาวรและอย่างเป็นทางการ เรียกว่า “จุดผ่านแดน” • “ทางอนุมัติ” และ “ด่านศุลกากร” • มีพิธีการศุลกากรเต็มรูปแบบ (Customs • Clearance Procedure)

  5. ศุลกากรกับการค้าชายแดนศุลกากรกับการค้าชายแดน • พิธีการนำเข้า (Import Procedure) • พิธีการนำเข้าชั่วคราว (Temporary Importation Procedure) • พิธีการส่งออก (Export Procedure) • พิธีการเฉพาะกรณี (Re-Export) การถ่ายลำ ผ่านแดน ข้ามแดน

  6. - AEC คืออะไร - • การรวมตัวกันทางเศรษฐกิจของประเทศ 10 ประเทศ ให้กลายเป็น “One Unity” • รวมถึงความมั่นคง สังคม วัฒนธรรม แต่ไม่รวมถึงดินแดน และหลักอธิปไตย • (เท่าที่ไม่ขัดกับ Concept) การรวมตัวกันทางเศรษฐกิจ) ดังนั้น จึงต้องมอง • “ภาพรวม” ไม่ใช่ “Individual Country”ความร่วมมือใดๆ ที่มีอยู่/ใช้อยู่ • ก็ให้ใช้ต่อไป แต่หลักการต้องส่งเสริมระบบเศรษฐกิจของอาเซียนโดยรวม • ยึดมั่นและปฏิบัติตามพันธกรณีใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมเศรษฐกิจของอาเซียน

  7. ประโยชน์ของ AEC • ต้นทุนในการผลิตจะลดลง เนื่องจากการค้าเสรีมากขึ้น (ไม่มีภาษี) • การเคลื่อนย้ายแรงงานและเงินทุน ตลอดจนบริการต่างๆ เป็นไป อย่างสะดวกคล่องตัว • เมื่อต้นทุนลดลง จะทำให้เพิ่มศักยภาพในการแข่งขันกับภูมิภาคอื่น • ได้มากขึ้น • เป็นตลาดที่มีขนาด (Volume) ใหญ่ขึ้น (ประมาณ 550 ล้านคน) จึงทำให้น่าสนใจมากขึ้น (Attractive) ต่อประเทศคู่ค้า • เกิดอำนาจในการต่อรองทางการค้ามากขึ้น

  8. แผนงานจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC Blue Print • การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน • การไปสู่ภูมิภาคที่มีความสามารถในการแข่งขันสูง • มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างเท่าเทียมกัน • การเป็นภูมิภาคที่บูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลกได้อย่างสมบูรณ์และเหมาะสม

  9. บทบาทกรมศุลกากรภายใต้ AEC • มาตรการยกเลิกภาษีศุลกากรและมาตรการที่ไม่ใช่ภาษี • ๑.๑) มาตรการยกเลิกภาษีศุลกากร (Elimination of Tariffs) • ๑.๒) มาตรการที่ไม่ใช่ภาษี (Non Tariff Barriers: NTB) • การปรับปรุงแก้ไขกฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้าและระเบียบวิธีปฏิบัติที่ทันสมัย • มาตรการอำนวยความสะดวกทางการค้าเพื่อลดต้นทุนทางธุรกรรม • ระบบอิเล็กทรอนิกส์ ณ จุดเดียวของอาเซียน (ASEAN Single Window) • มาตรการกระตุ้นการรวมกลุ่มทางศุลกากร • แผนงานศุลกากรเพื่อรองรับ AEC

  10. AEC Blue Print ทำอย่างไร - การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน การเคลื่อนย้ายสินค้า การเคลื่อนย้ายบริการที่เสรี การเคลื่อนย้ายการลงทุนที่เสรี การเคลื่อนย้ายเงินทุนที่เสรีมากขึ้น การเคลื่อนย้ายแรงงานที่เสรี

  11. การเคลื่อนย้ายสินค้าที่เสรีภาพในอาเซียนการเคลื่อนย้ายสินค้าที่เสรีภาพในอาเซียน • พัฒนาระบบการผ่านแดนของอาเซียนภายใต้กรอบความตกลงอาเซียนว่าด้วยการอำนวยความสะดวกในการขนส่งสินค้าผ่านแดน (Framework Agreement to the Facilitation of Goods in Transit) โดยอยู่บนพื้นฐานของ IT Technique เรียกว่า“ASEAN Customs Transit System” • การผ่านแดนมีเจตนาเพื่อขนของผ่านดินแดน มิใช่การนำเข้าปกติ จึงไม่มีการเก็บภาษีศุลกากร

  12. การอำนวยความสะดวกทางการค้าการอำนวยความสะดวกทางการค้า → ปรับปรุง/พัฒนา พิธีการศุลกากร (ทั่วไป) ตลอดจนระเบียบ ทางการค้า (Trade Regulations) ให้เป็นแนวทางเดียวกัน โดย Adopt International Standards + Best Practicesเช่น ใช้แบบฟอร์มใบขนสินค้ารูปแบบเดียวกัน (Single Declaration) และการตรวจปล่อยสินค้าที่มีมาตรฐานเดียวกัน (ASEAN Cargo Clearance/Processing) → การใช้ระบบการจำแนกพิกัดศุลกากรของอาเซียน โดยอยู่บนพื้นฐานของ HS Convention ของWCO

  13. การอำนวยความสะดวกทางการค้าการอำนวยความสะดวกทางการค้า → การประเมินราคาโดยอยู่บนพื้นฐานของ WCOและ GATT → จัดทำระบบพิธีการศุลกากร (เฉพาะเรื่อง)เช่น Inward – Outward Processing, Modernized Customs Techniques → เพิ่ม/ส่งเสริมการให้ความร่วมมือ/ช่วยเหลือ และแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างศุลกากร →การพัฒนาพิธีการศุลกากรให้มีมาตรฐานเดียวกันและเป็นไปตามมาตรฐานเดียวกันและเป็นไปตามมาตรฐานสากลตามที่กำหนดไว้ในความตกลงหรืออนุสัญญาระหว่างประเทศฉบับต่างๆ

  14. การอำนวยความสะดวกทางการค้าการอำนวยความสะดวกทางการค้า → การประเมินราคาโดยอยู่บนพื้นฐานของ WCOและ GATT → จัดทำระบบพิธีการศุลกากร (เฉพาะเรื่อง)เช่น Inward – Outward Processing, Modernized Customs Techniques → เพิ่ม/ส่งเสริมการให้ความร่วมมือ/ช่วยเหลือ และแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างศุลกากร E-ASEAN Customs →National Single Window (การให้บริการแบบเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียวของแต่ละประเทศสมาชิก) →ASEAN Single Window (การเชื่อมต่อการให้บริการระหว่าง NSW ของประเทศสมาชิก

  15. National Single Window →ความตกลงอาเซียนว่าด้วยการอำนวยความสะดวกด้านศุลกากรด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ของอาเซียน (Agreement to Establish and Implement the ASEAN Single Window) →ASEAN Single Window (การเชื่อมต่อการให้บริการระหว่าง NSW ของประเทศสมาชิก →National Single Window (การให้บริการแบบเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียวของแต่ละประเทศสมาชิก) →ร่างระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการเชื่อมโยงข้อมูลแบบบูรณาการสำหรับการนำเข้า กาส่งออก การนำผ่าน และโลจิสติกส์ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ....

  16. กรอบความตกลงอาเซียนว่าด้วยการอำนวยความสะดวกในการขนส่งสินค้าผ่านแดนกรอบความตกลงอาเซียนว่าด้วยการอำนวยความสะดวกในการขนส่งสินค้าผ่านแดน • (ASEAN Framework Agreement on the Facilitation of Goods • in Transit: AFAFGT) • •ASEANทุกประเทศลงนามแล้ว แต่ยังไม่มีผลในทางปฏิบัติ โดยจะปฏิบัติพร้อมๆกัน เนื่องจากเป็นความตกลงของอาเซียน • • ASEANต้องจัดทำพิธีสารหรือภาคผนวกต่างๆ ให้เสร็จสิ้น • • กรอบความตกลงฯ ประกอบด้วย ๙ พิธีสาร แบ่งเป็น • - ด้านการขนส่ง ๗ ข้อ • - ด้านศุลกากร ๒ ข้อ ได้แก่ • ๑. พิธีสาร ๒ การกำหนดที่ทำการพรมแดน • (Designation of Frontier Posts) • ๒. พิธีสาร ๗ ระบบศุลกากรผ่านแดน • (Customs Transit System) ซึ่งยังไม่ได้มีการลงนาม

  17. การถ่ายลำ • -มาตรา ๕๘ แห่งพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. ๒๔๖๙ • - ข้อห้าม ข้อจำกัด ของการถ่ายลำมีหรือไม่ อย่างไร • -ความหมายของการถ่ายลำตามอนุสัญญาเกียวโต (ฉบับแก้ไข) • ความคืบหน้าของร่างกฎหมายว่าด้วยการผ่านแดน-ถ่ายลำ • ขณะนี้ (๑๑ ตุลาคม ๒๕๕๖) ร่างพระราชบัญญัติ (ฉบับที่ ..) • พ.ศ. .... (ว่าด้วยการถ่ายลำและการผ่านแดน) สำนักงาน • คณะกรรมการกฤษฎีกา ได้ตรวจพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ • ดังกล่าวเสร็จแล้ว

  18. อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยพิธีการศุลกากรที่เรียบง่ายและสอดคล้องกันอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยพิธีการศุลกากรที่เรียบง่ายและสอดคล้องกัน • (ฉบับแก้ไข) The Revised Kyoto Convention • ประเทศไทยกำลังจะเข้าเป็นภาคีสมาชิก • การกำหนดมูลค่าหรือภาษีขั้นต่ำที่จะไม่มีการจัดเก็บภาษี • การกำหนดให้คำวินิจฉัยล่วงหน้าของศุลกากรมีผลผูกพันและการเก็บค่าธรรมเนียมในการออกคำวินิจฉัย • การยื่นเอกสารประกอบทางอิเล็กทรอนิกส์

  19. ความตกลงว่าด้วยการอำนวยความสะดวกในการขนส่งสินค้าข้ามพรมแดน • ในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง • -- ประกอบด้วย ประเทศสมาชิก ดังนี้ ไทย ลาว เวียดนาม กัมพูชา พม่า และจีน มีการลงนามแล้ว แต่ยังไม่มีผลในทางปฏิบัติ • - - ประกอบด้วย ประเทศสมาชิกที่อยู่ติดกันต้องจัดทำ MOU เพื่อดำเนินการ ให้เป็นไปตาม CBTA ได้โดยไม่ต้องรอประเทศที่ไม่พร้อม • - -ลดขั้นตอนการตรวจสินค้า โดยจะตรวจพร้อมกันครั้งเดียวในบริเวณพื้นที่ ควบคุมร่วมกัน (Common Control Area: CCA) ซึ่งพื้นที่นี้อาจตั้งอยู่ในหรือ นอกราชอาณาจักร ก็ได้ โดยต้องมีการแก้กฎหมายศุลกากรด้วย เพื่อให้อำนาจ แก่เจ้าหน้าที่ศุลกากรที่จะเข้าไปตรวจสินค้า ณ พื้นที่ควบคุมร่วมกัน ซึ่งตั้งอยู่ นอกราชอาณาจักรได้

  20. การดำเนินการของสำนักกฎหมาย • -- เสนอแก้ไขร่างเพิ่มเติมพระราชบัญญัติศุลกากร (ฉบับที่..) พ.ศ. .... เพื่อให้เจ้าหน้าที่ศุลกากรมีอำนาจตรวจของ ณ พื้นที่ควบคุมร่วมกัน (Common Control Area: CCA) ไม่ว่า CCA จะอยู่ในหรือนอกราชอาณาจักร • - - เสนอแก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติศุลกากร (ฉบับที่..) พ.ศ. .... (ว่าด้วยการถ่ายลำและผ่านแดน)

  21. ๏ ต้องเจรจาเพิ่มและพิจารณาดำเนินการให้เป็นไปตามผลการเจรจาที่จะเกิดขึ้นในอนาคต๏ ต้องเจรจาเพิ่มและพิจารณาดำเนินการให้เป็นไปตามผลการเจรจาที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ๏ ต้องเตรียมความพร้อมในทุกด้าน เช่น บูรณาการกฎหมายของหน่วยงาน ให้เสริมสร้างความได้เปรียบแก่ประเทศและต้องสอดคล้องกับความหมายสากล ๏ ต้องพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการเจรจาการค้าระหว่างประเทศของ ทุกหน่วยงาน เช่น การLobbyการต่อรองกลยุทธ์ในการเจรจาใน ภาพรวมภาษาอังกฤษ การเรียนรู้วัฒนธรรมของประเทศอาเซียนอื่น เป็นต้น • • สิ่งที่ต้องดำเนินการต่อไป

  22. ๏ ต้องมีการกำหนดนโยบายระดับประเทศให้เหมาะสมโดยการวิเคราะห์ เชิงลึกโดยนักวิชาการมืออาชีพ ๏ กรมศุลกากรต้องประสานงานกับหน่วยงานในประเทศและประสานงาน กับกลุ่มประเทศอาเซียน เพื่อดำเนินการร่วมกันในการ นำระบบ National Single Window และ ASEAN Single Window มาใช้อย่างเป็นรูปธรรมต่อไป ๏ ต้องแก้ไขกฎหมายศุลกากรให้มีความชัดเจนและเหมาะสม เช่น ความหมายของการผ่านแดน ถ่ายลำ ฯลฯ เพื่อรองรับการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • • สิ่งที่ต้องดำเนินการต่อไป

  23. ๏ ต้องพัฒนาศักยภาพการผลิตให้มีต้นทุนที่ต่ำที่สุด เช่น ใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ ช่วย เนื่องจากจะมีคู่แข่งมากขึ้น ๏ ควรเข้ามามีส่วนร่วมกับภาครัฐให้มากที่สุด เพื่อให้ข้อมูลแก่ภาครัฐ ในการเจรจาต่อรองเพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ประเทศมากที่สุด ๏ พัฒนาด้านภาษาอังกฤษ และคอมพิวเตอร์ เพื่อความเป็นต่อและ ความสะดวกราบรื่นในการติดต่อสื่อสารระหว่างประเทศ และการติดตามความคืบหน้าหรือ updateในเรื่องต่างๆ ๏ ต้องมองว่าพื้นที่ทางเศรษฐกิจจะกว้างกว่าเดิมมิได้จำกัดอยู่เฉพาะพื้นที่/ดินแดนของประเทศไทยเท่านั้น ๏ ใช้จุดแข็งของประเทศไทยให้เป็นประโยชน์มากที่สุด • • สิ่งที่ต้องเตรียมตัว (ภาคเอกชน)

  24. ๏ ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Logisticเช่น ACTs CBTA และกฎหมายและร่างกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการขนส่งทุกฉบับ เช่น ร่าง พรบ.ศุลกากร เป็นต้น ๏ มีความสามัคคี หรือเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ควรรวมกันให้มีขนาดใหญ่ขึ้น เข้มแข็งขึ้น หรือเพิ่มเครือข่ายมากขึ้น เพื่อประโยชน์ด้านการค้าและการต่อรอง ๏ ให้ความเห็นหรือข้อเสนอแนะแก่หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องเพื่อประโยชน์แก่ทุกฝ่าย ๏ ศึกษาวิธีการทางธุรกิจของภาคเอกชนสัญชาติต่างๆ ๏ ทำการค้าอย่างสุจริต ซื่อสัตย์และมีวินัยทางการเงิน การคลัง • • สิ่งที่ต้องเตรียมตัว (ภาคเอกชน)

  25. Questions & Answer

  26. THANK YOU ขอบคุณค่ะ

More Related