1 / 64

กฎหมายและหลักเกณฑ์ใน การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA)

กฎหมายและหลักเกณฑ์ใน การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA). สัญชัย สูติพันธ์วิหาร คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. 5 . หลักเกณฑ์และขั้นตอนการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ. หัวข้อในการนำเสนอ+แลกเปลี่ยนเรียนรู้. 1 . รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ.2550 มาตรา 67.

gavan
Download Presentation

กฎหมายและหลักเกณฑ์ใน การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กฎหมายและหลักเกณฑ์ในการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) สัญชัย สูติพันธ์วิหาร คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

  2. 5. หลักเกณฑ์และขั้นตอนการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ หัวข้อในการนำเสนอ+แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1. รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ.2550 มาตรา 67 2. พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550 3. พ.ร.บ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535 4. กฎ ระเบียบ ประกาศต่างๆ ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

  3. รัฐธรรมนูญฯ 2550 มาตรา 67 สิทธิของบุคคลที่จะมีส่วนร่วมกับรัฐและชุมชน ในการอนุรักษ์ บำรุงรักษาและการได้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพและในการคุ้มครองส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมเพื่อให้ดำรงชีพอยู่ได้อย่างปกติและต่อเนื่องในสิ่งแวดล้อมที่จะไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ หรือคุณภาพชีวิตของตน ย่อมได้รับความคุ้มครองตามความเหมาะสม

  4. รัฐธรรมนูญ 2550มาตรา 67(วรรค 2) “การดำเนินโครงการหรือกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง ทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ จะกระทำมิได้ เว้นแต่จะได้ ศึกษาและประเมินผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในชุมชน และจัดให้มีกระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและผู้มีส่วนได้เสียก่อนรวมทั้งได้ให้องค์การอิสระ ซึ่งประกอบด้วยผู้แทนองค์การเอกชนด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ และผู้แทนสถาบันอุดมศึกษาที่จัดการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม หรือทรัพยากรธรรมชาติหรือด้านสุขภาพให้ความเห็นประกอบก่อนมีการดำเนินการดังกล่าว”

  5. รัฐธรรมนูญ 2550 มาตรา 67 (วรรค 3) “สิทธิของบุคคลที่จะฟ้องหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ ราชการส่วนท้องถิ่น หรือองค์กรอื่นของรัฐ เพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่บัญญัติไว้ในกฎหมายตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ย่อมได้รับความคุ้มครอง”

  6. รัฐธรรมนูญฯ 2550 มาตรา 67 วรรค 2 ศาลปกครอง สั่งชะลอโครงการ (ร่าง)พรบ.องค์การอิสระฯ คณะกรรมการ 4 ฝ่าย ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯ - กำหนดหลักเกณฑ์ EHIA - กำหนดประเภทโครงการรุนแรง ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประสานงานการให้ความเห็นฯ คณะกรรมการประสานงานการให้ความเห็นฯ คณะกรรมการองค์การอิสระด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (กอสส.) (ชุดเฉพาะกาล) = 13 คน

  7. สรุปขั้นตอนของการดำเนินการสรุปขั้นตอนของการดำเนินการ โครงการ/กิจกรรมที่อาจส่งผลกระทบรุนแรง 1. ประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (EHIA) 2. จัดกระบวนการรับฟังความคิดเห็น 3. ต้องให้องค์การอิสระฯ ให้ความเห็น ก่อนมีการดำเนินการโครงการ

  8. พรบ. สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550 • มาตรา 10 บุคคลหรือคณะบุคคลมีสิทธิได้รับรู้ข้อมูล คำชี้แจง และเหตุผลจากหน่วยงานของรัฐ ก่อนการอนุญาต หรือการดำเนินโครงการหรือกิจกรรมใดที่อาจมีผลกระทบต่อสุขภาพของตนหรือของชุมชนและแสดงความเห็นของตนในเรื่องดังกล่าว

  9. พรบ. สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550 • มาตรา 11 บุคคลหรือคณะบุคคล มีสิทธิร้องขอให้มีการประเมินและมีสิทธิร่วมในกระบวนการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพจากนโยบายสาธารณะ

  10. พ.ร.บ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535 ประเภทและขนาดโครงการที่ต้องทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA)ตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • EIA ปกติ (ในปัจจุบันมี 35 ประเภทโครงการ) • EIA รุนแรง (ในปัจจุบันมี 11 ประเภทโครงการ)

  11. ตัวอย่างประเภทและขนาดโครงการที่ต้องทำรายงาน EIA (ปกติ) • โรงไฟฟ้าพลังความร้อนขนาด10 เมกกะวัตต์ขึ้นไป • อุตสาหกรรมปิโตรเคมี, เคมี, กลั่นน้ำมัน, แปรสภาพก๊าซธรรมชาติ • การพัฒนาปิโตรเลียมและระบบท่อขนส่งปิโตรเลียมและน้ำมันเชื้อเพลิง • เหมืองแร่ตามกฎหมายว่าด้วยแร่ ทุกขนาด • ท่าเทียบเรือพาณิชย์ รับเรือ ขนาด 500 ตันกรอสขึ้นไป • เขื่อนหรืออ่างเก็บน้ำขนาด100,000,000 ลบ.ม. หรือ15ตร.กม. • การชลประทานพื้นที่ขนาด80,000ไร่ขึ้นไป • สนามบินพาณิชย์ทุกขนาด • โรงแรมหรือสถานที่พักตากอากาศ ขนาด 80 ห้องขึ้นไป • ทางพิเศษตามกฎหมายว่าด้วยการทางพิเศษ ฯลฯ

  12. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ และแนวทางในการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการหรือกิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ (ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 29 ธ.ค.2552)

  13. หลักการในการทำ EHIA • หลักประชาธิปไตย (สิทธิ การมีส่วนร่วม) • หลักความเป็นธรรมและเสมอภาค (ข้อมูลจากทุกกลุ่ม) • หลักการใช้ข้อมูลหลักฐานอย่างเหมาะสม (ปริมาณ+คุณภาพ) • หลักเปิดเผยและโปร่งใส (บันทึกข้อมูล เพื่อตรวจสอบได้) • หลักความเหมาะสมในทางปฏิบัติ (เวลา, ทรัพยากร, บริบท) • หลักการองค์รวม (สัมพันธ์ เชื่อมโยง บูรณาการ) • หลักความยั่งยืน(หลักการป้องกันไว้ก่อน เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน)

  14. ขั้นตอนการทำEHIA EHIA

  15. กระบวนการกลั่นกรองโครงการ เข้าข่ายทำรายงาน EHIA (Screening)

  16. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกำหนดประเภทและขนาดโครงการและกิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง ทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพจะต้องจัดทำรายงาน EIA(ตามรัฐธรรมนูญ 2550 มาตรา 67 วรรค 2)= 11ประเภทและขนาดโครงการ(ประกาศราชกิจจานุเบกษา31 ส.ค.53 + 29 พ.ย.53)

  17. กระบวนการกำหนดขอบเขตการประเมินผลกระทบ (Public Scoping)

  18. ขอบเขตการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (HIA) (Public Scoping) • ระบุปัจจัยกำหนดสุขภาพ 9 ปัจจัย • ระบุผลกระทบต่อสุขภาพที่มีศักยภาพและนัยสำคัญ • ระบุข้อห่วงกังวลจากผู้มีส่วนได้เสีย • กำหนดขอบเขตเชิงพื้นที่(รัศมีจากโครงการ 5 กิโลเมตร) • ประชากรกลุ่มเสี่ยง(คนงานก่อสร้าง,ประชาชน,พนักงาน) • กำหนดระยะเวลา

  19. ปัจจัยกำหนดสุขภาพ 1. การเปลี่ยนแปลงสภาพและการใช้ทรัพยากรธรรมชาติต่างๆ + ระบบนิเวศ2.การผลิต ขนส่ง และการจัดเก็บวัตถุอันตราย (ชนิด ปริมาณ วิธีดำเนินการ)3.การกำเนิดและการปล่อยของเสียและสิ่งคุกคามสุขภาพ4.การรับสัมผัสต่อมลพิษและสิ่งคุกคามต่อสุขภาพ5. การเปลี่ยนแปลงและผลกระทบต่ออาชีพ การจ้างงาน และสภาพการทำงาน6. การเปลี่ยนแปลงและผลกระทบต่อความสัมพันธ์ของประชาชนและชุมชน7. การเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ที่มีความสำคัญ/มรดกศิลปวัฒนธรรม8. ผลกระทบเฉพาะ/รุนแรงต่อประชาชนกลุ่มที่มีความเปราะบาง9. ทรัพยากรและความพร้อมของภาคสาธารณสุข (สร้างเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู)

  20. การกำหนดขอบเขตผลกระทบสุขภาพการกำหนดขอบเขตผลกระทบสุขภาพ • สิ่งคุกคามสุขภาพ • ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • ปัจจัยต่อการรับสัมผัส • ลักษณะผลกระทบต่อสุขภาพ • ผลกระทบต่อระบบสุขภาพ • ผลกระทบต่อสังคมและชีวิตความเป็นอยู่

  21. การจำแนกกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 7 กลุ่ม ผู้ได้รับผลกระทบ ทั้งผู้ที่อยู่ในและนอก รัศมี 5 กิโลเมตร หน่วยงานที่รับผิดชอบในการจัดทำรายงาน EHIA หน่วยงานพิจารณารายงาน EHIA หน่วยงานราชการในระดับ ต่างๆ และรัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง เอกชน/องค์กรพัฒนาเอกชน/สถาบันการศึกษา/นักวิชาการอิสระ สื่อมวลชน ประชาชนทั่วไป

  22. กระบวนการจัดเวทีรับฟังความคิดเห็นในขั้นตอน Public Scoping ก่อนจัด วันจัด หลังจัด

  23. ใครทำ : เจ้าของโครงการ (consult) ทำอะไร : จัดเวทีรับฟังความคิดเห็น ทำอย่างไร : กำหนดขอบเขตและแนวทางการประเมิน จัดให้ใคร : ประชาชน+ผู้มีส่วนได้เสีย+หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่ออะไร : เพื่อให้การประเมินผลกระทบฯ มีความครบถ้วน ค1. การกำหนดขอบเขตการประเมินฯ(Public Scoping)

  24. ค1.ก่อน การจัดเวทีรับฟังความคิดเห็น (Public Scoping) เงื่อนไข • ไม่น้อยกว่า 1 เดือน • ไม่น้อยกว่า 3 ช่องทาง ภารกิจ • แจ้งล่วงหน้าให้ สผ./สช./ปชช. • ผ่านสื่อ • ไม่น้อยกว่า 15 วัน • ไม่น้อยกว่า 3 ช่องทาง • เปิดเผยข้อมูลโครงการ + ปัจจัยกำหนดสิ่งแวดล้อม/สุขภาพ + ร่างขอบเขต/แนวทางการประเมิน • จัดลงทะเบียนล่วงหน้า • ได้โดยสะดวก • จัดระบบการลงทะเบียน ให้ผู้ที่จะเข้าร่วมการให้ความเห็น

  25. ค1.ระหว่าง การจัดเวทีรับฟังความคิดเห็น Public Scoping เงื่อนไข • ไม่น้อยกว่า 2 ชั่วโมง • ไม่น้อยกว่า ครึ่งหนึ่งของเวลาในการจัดเวทีทั้งหมด ภารกิจ • จัดกระบวนการรับฟังความคิดเห็น • ต้องจัดช่วงเวลาที่เหมาะสม • เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องได้นำเสนอประเด็นห่วงกังวลและข้อมูล

  26. ค1. หลัง การจัดเวทีรับฟังความคิดเห็น Public Scoping เงื่อนไข • ไม่น้อยกว่า 15วัน • อย่างน้อย 2 ช่องทาง ภารกิจ • เปิดช่องทางในการรับฟังความคิดเห็น • อย่างต่อเนื่อง

  27. สื่อประชาสัมพันธ์ที่ใช้ในการเผยแพร่ / เชิญเข้าร่วมเวที • จดหมายเชิญ • เว็ปไซต์โครงการ • ป้ายบอร์ดประชาสัมพันธ์ ที่เป็นจุดสังเกตได้ง่าย+ชัดเจน • สถานีวิทยุ / วิทยุชุมชน • สถานีโทรทัศน์ท้องถิ่น (เคเบิล) • หนังสือพิมพ์ท้องถิ่น • หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น อบต. / เทศบาล • ฯลฯ

  28. ช่องทางที่ใช้ในการรับฟังความคิดเห็นช่องทางที่ใช้ในการรับฟังความคิดเห็น • เวทีการจัดรับฟังความคิดเห็น • กล่องรับความคิดเห็น • แบบสอบถาม • โทรศัพท์ • โทรสาร • อีเมล • ไปรษณียบัตร ฯลฯ

  29. กระบวนการประเมินผลกระทบ + จัดทำรายงานEHIA (Assessment + Reporting)

  30. ใครทำ : เจ้าของโครงการ  consult ทำอะไร :เปิดเผยข้อมูล + รับฟังความคิดเห็น ทำอย่างไร :ตามแนวทางการมีส่วนร่วม+HIAใน EIA จัดให้ใคร :ประชาชน + ผู้มีส่วนได้เสีย เพื่ออะไร :เพื่อเปิดการมีส่วนร่วมอย่างรอบด้าน ค2. การประเมินผลกระทบและจัดทำรายงานฯ(Assessment+Reporting)

  31. ค2.ก่อน การมีส่วนร่วมในการประเมินและจัดทำรายงานฯ เงื่อนไข • ข้อมูลโครงการ พื้นที่ • ข้อมูลมลพิษ แหล่งน้ำ ที่ดิน/ที่รองรับของเสีย • ปัจจัยกำหนดสุขภาพ • แนวทางการทำ EHIA • ระยะเวลาเริ่มดำเนินโครงการ • วัน เวลาสถานที่รับฟังความเห็น ภารกิจ • เปิดเผยข้อเท็จจริงเกี่ยวกับโครงการที่กำลังทำ EHIA • โดยทำป้ายแสดงข้อมูล ติดตั้งในสถานที่ และขนาดที่สามารถเข้าถึงและอ่านได้สะดวก

  32. ค2.ระหว่าง การมีส่วนร่วมในการประเมินและจัดทำรายงาน เงื่อนไข • แสดงชื่อโครงการ+ วัตถุประสงค์+ เป้าหมาย + • ประเด็นที่จะสำรวจ/รับฟังความคิดเห็น ภารกิจ • สำรวจและรับฟังความคิดเห็น • ให้ความสำคัญกับการเก็บรวบรวมข้อมูล • ทำความเข้าใจวิถีชีวิตและสภาพแวดล้อมของชุมชน

  33. วิธีการสำรวจและรับฟังความคิดเห็นวิธีการสำรวจและรับฟังความคิดเห็น • การสัมภาษณ์รายบุคคล • ผ่านทางไปรษณีย์/Tel./Fax/ระบบเครือข่ายสารสนเทศ • เปิดโอกาสให้มารับข้อมูล + แสดงความคิดเห็นต่อหน่วยงานรัฐ • การสนทนากลุ่มย่อย (Focus group) • การประชุมเชิงปฏิบัติการ • การประชุมตัวแทนกลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้อง • ฯลฯ

  34. ค2. หลัง การมีส่วนร่วมในการประเมินและจัดทำรายงาน เงื่อนไข • ภายใน 15 วัน • ไม่น้อยกว่า 15 วัน ภารกิจ • สรุปผลการสำรวจความคิดเห็น ทั้งในแง่ + , - • แสดงรายงานผลฯ ที่ ทสจ. สสจ. อปท. กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน สถานีอนามัย (ที่ประชาชนเข้าถึง + เห็นได้ง่าย)

  35. กระบวนการทบทวนร่างรายงาน EHIA (Public Review)

  36. ค3. การทบทวนร่างรายงานการประเมินฯ(Public Review) ใคร :เจ้าของโครงการ ทำอะไร :จัดเวทีรับฟังความคิดเห็น ทำอย่างไร :ทบทวนร่างรายงานการประเมินผลกระทบฯ จัดให้ใคร :ประชาชน+ผู้มีส่วนได้เสีย+หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่ออะไร :เพื่อให้การประเมินผลกระทบฯ ครบถ้วน

  37. ค3. ก่อน การจัดเวทีรับฟังความคิดเห็น Public Review เงื่อนไข • ไม่น้อยกว่า 1 เดือน • ไม่น้อยกว่า 3 ช่องทาง ภารกิจ • แจ้งล่วงหน้าให้ สผ./สช./ปชช. • ผ่านสื่อ • ไม่น้อยกว่า 15 วัน • ไม่น้อยกว่า 3 ช่องทาง • เปิดเผย (ร่าง) รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ฉบับสมบูรณ์

More Related