1 / 16

ข้อพิจารณาการเลือกใช้รูปภาพ

ข้อพิจารณาการเลือกใช้รูปภาพ.  1 . ไม่ควรเน้นรูปภาพภายในเว็บเพ จมาก จนเกินไป ควรจะมีข้อความและรูปภาพที่สมดุล กัน

gary-stuart
Download Presentation

ข้อพิจารณาการเลือกใช้รูปภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ข้อพิจารณาการเลือกใช้รูปภาพข้อพิจารณาการเลือกใช้รูปภาพ 1. ไม่ควรเน้นรูปภาพภายในเว็บเพจมากจนเกินไป ควรจะมีข้อความและรูปภาพที่สมดุลกัน 2. การใช้รูปภาพที่เป็นไฟล์ขนาดใหญ่จะทําให้การโหลดเว็บเพจใช้เวลานานกว่าจะแสดงภาพ ดังนั้น จึงควรใช้ภาพที่มีพอเหมาะสื่อกับผู้ชม หรืออาจใช้โปรแกรมทางกราฟิก เช่น Photoshopหรือ ACDSeeทําการลดขนาดภาพ (Resize)ก่อนนํามาลงบนเว็บเพจก็ได้

  2. ข้อพิจารณาการเลือกใช้รูปภาพข้อพิจารณาการเลือกใช้รูปภาพ • 3. ปัจจุบันการนํารูปภาพลงเว็บเพจ ควรคํานึงถึงที่มาและลิขสิทธิ์ของรูปภาพนั้นด้วย แต่บางเว็บไซต์ก็มีการแจกรูปภาพให้ฟรี ซึ่งสามารถนํามาใช้ประโยชน์โดยไม่ต้องเสียค่าลิขสิทธิ์ • 4. ควรเลือกใช้ภาพที่มีโทนเดียวกับส่วนประกอบอื่นภายในเว็บเพจ เพื่อความกลมกลืนไม่แตกต่างกัน

  3. ชนิดของรูปภาพ • 1. ภาพ  GIF (Graphic Interchange Format) เป็นรูปแบบไฟล์ภาพที่พัฒนาขึ้นโดย Compuserveสำหรับบีบอัดข้อมูลภาพลายเส้น กำหนดสีได้สูงสุด 256 สี มีคุณลักษณะโปร่งแสงและสร้างภาพเคลื่อนไหวได้ สามารถแสดงผลบนเบราวเซอร์ได้ทุกชนิด มักเป็นรูปที่มีสีพื้นเป็นส่วนใหญ่ ไม่ค่อยมีการไล่สี แต่ถ้ามีการขยายภาพทำให้ภาพแตกได้ เช่น โลโก้ รูปการ์ตูนต่าง ๆ ที่มา : www.thaiscouting.comที่มา : www.hellokittydreams.fr ภาพที่มีสกุลเป็น GIF 

  4. ชนิดของรูปภาพ 2. ภาพ  JPEG (Joint Photographic Experts Group)  เป็นรูปแบบไฟล์ที่บีบอัดข้อมูลให้เล็กลง หลังการบีบอัดยังคงแสดงสีได้สูงถึง 16.7 ล้านสี แต่ถ้าบีบอัดมากๆ คุณภาพจะเสียไป ไฟล์ที่บีบอัดทำให้ขนาดเล็กกว่าภาพ .gif ก็ได้ สามารถดาวน์โหลดได้เร็วแต่เมื่อนำมาแสดงผลก็อาจจะช้าบ้าง เพราะต้องขยายไฟล์ขณะแสดงผลสามารถแสดงผลบนบราวเซอร์ได้ทุกชนิดเช่นกัน ส่วนใหญ่มักจะเป็นภาพถ่าย หรือภาพที่มีรายละเอียดสีมาก ๆ ที่มา : http://www.bloggang.com/data/mr-virus/picture/1194274410.jpg

  5. ชนิดของรูปภาพ 3. ภาพ PNG (Portable Network Graphic)พัฒนาขึ้นมาใช้งานบนเบราว์เซอร์ แต่ ขณะนี้ยังไม่ได้ความนิยมมากนักเมื่อเทียบกับไฟล์ .gif และ .jpg ขยายได้โดยภาพไม่แตก ที่มา : http://cc.in.th/wiki/_media

  6. การนำรูปภาพมาใช้งานในเว็บเพจการนำรูปภาพมาใช้งานในเว็บเพจ

  7. การปรับขนาดรูปภาพ คลิกที่ขอบของภาพและย่อหรือขยายขนาด โดยกดปุ่ม < Shift >  ค้างไว้ จะเป็นการปรับขนาดตามสัดส่วนเดิม

  8. การจัดวางรูปภาพ  (Align Left) สำหรับวางรูปชิดขวา  (Align Left) สำหรับวางรูปชิดซ้าย (Align Center) สำหรับวางรูปตรงกลาง

  9. การใส่กรอบให้รูปภาพ คลิกเลือกรูปที่ต้องการใส่กรอบ กำหนดความหนาของกรอบเป็นตัวเลข ลงในช่อง  Border

  10. การกำหนดระยะห่างของรูป

  11. การปรับความคมชัดให้กับภาพการปรับความคมชัดให้กับภาพ • 1. คลิกภาพที่ต้องการปรับความคมชัด • 2. คลิกปุ่ม (Sharpen) ที่ Properties Inspector • 3. คลิกเลื่อนเพื่อเลือกระดับความคมชัด

  12. การปรับความสว่างให้กับภาพการปรับความสว่างให้กับภาพ • 1. คลิกภาพที่ต้องการปรับความสว่างและคอนทราสต์ • 2. คลิกปุ่ม (Brightness and Contrast)  ที่  Properties Inspector • 3.คลิกเลื่อนเพื่อเลือกระดับคอนทราสต์

  13. การใส่รูปภาพเป็นฉากหลัง • 1. คลิกที่ปุ่ม  Page Properties  หรือกดปุ่ม  < Ctrl + J >  เพื่อเปิดหน้าต่าง  Page Properties

  14. การใส่รูปภาพเป็นฉากหลัง • 2. คลิกที่หัวข้อ  Appearance • 3. คลิกที่ปุ่ม Browse • 4. เลือกไฟล์รูปภาพที่ต้องการนำมาเป็นฉากหลัง • 5. คลิกที่ปุ่ม  OK

  15. Thank You !

More Related