1 / 15

การบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม จังหวัดมหาสารคาม

การบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม จังหวัดมหาสารคาม. โดย ว่าที่ร.ต.จักรภัทร ผ่องโอภาส เกษตรจังหวัดมหาสารคาม. ผลการ ตรวจสอบ พื้นที่. การส่งเสริมและการปรับเปลี่ยนพื้นที่. 1,385,902. 793,095. ผลการสำรวจความต้องการของเกษตรกร ปรับเปลี่ยนพื้นที่นาไม่เหมาะสมเป็นกิจกรรมอื่น.

galia
Download Presentation

การบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม จังหวัดมหาสารคาม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม จังหวัดมหาสารคาม โดย ว่าที่ร.ต.จักรภัทร ผ่องโอภาส เกษตรจังหวัดมหาสารคาม

  2. ผลการตรวจสอบพื้นที่

  3. การส่งเสริมและการปรับเปลี่ยนพื้นที่การส่งเสริมและการปรับเปลี่ยนพื้นที่ 1,385,902 793,095

  4. ผลการสำรวจความต้องการของเกษตรกรปรับเปลี่ยนพื้นที่นาไม่เหมาะสมเป็นกิจกรรมอื่นผลการสำรวจความต้องการของเกษตรกรปรับเปลี่ยนพื้นที่นาไม่เหมาะสมเป็นกิจกรรมอื่น

  5. แผนที่ปรับเปลี่ยนพื้นที่ปลูกข้าวไม่เหมาะสมเป็นอ้อยโรงงาน รัศมี 50 กิโลเมตร จังหวัดมหาสารคาม บริษัทน้ำตาลขอนแก่น จำกัด บริษัทน้ำตาลมิตรภูเวียง จำกัด บริษัทน้ำตาลมิตรกาฬสินธุ์ จำกัด 1. บริษัทน้ำตาลขอนแก่จำกัด ดูแลพื้นที่ อำเภอเชียงยืน/ชื่นชม 2. บริษัทนำตาลมิตรภูเวียง จำกัด ดูแลพื้นที่ อำเภอเชียงยืน/ชื่นชม บริษัทน้ำตาลวังขนาย จำกัด 3. บริษัทน้ำตาลวังขนาย จำกัด ดูแลพื้นที่ทั้งจังหวัด 4. บริษัทน้ำตาลบุรีรัมย์ จำกัด ดูแลพื้นที่ อำเภอนาเชือก 5. บริษัทน้ำตาลมิตรกาฬสินธุ์ จำกัด ดูแลพื้นที่ อำเภอชื่นชม บริษัทน้ำตาลบุรีรัมย์ จำกัด

  6. สรุปกำลังการผลิต/ความต้องการผลผลิตอ้อยโรงงานสรุปกำลังการผลิต/ความต้องการผลผลิตอ้อยโรงงาน <-------------ไม่รับซื้ออ้อยจากจังหวัดมหาสารคาม-------->

  7. สรุปมาตรการจูงใจ/สนับสนุนของโรงงานและจังหวัด ปี 2557 บริษัทน้ำตาลวังขนาย จำกัด * เงินเกี้ยว 5,500 – 6,000 บาท/ไร่ ยืมล่วงหน้า เป็นค่าปุ๋ย, พันธุ์, เตรียมดิน, ค่ายา โรงงานน้ำตาลขอนแก่น จำกัด * เงินเกี้ยว 5,000 บาท/ไร่ ยืมล่วงหน้า เป็นค่าปุ๋ย, พันธุ์, เตรียมดิน, ค่ายา (ไม่เกิน 100,000 บาท/คน หากเกินต้องมีหลักทรัพย์ค้ำประกันเพิ่มเติม) * เงินให้เปล่า 500 บาท/ไร่ (กรณีเป็นพื้นที่ปลูกใหม่) จังหวัดสนับสนุน งบประมาณ (800 บาท/ไร่) 1. ค่าปุ๋ยอินทรีย์ 100 กก./ไร่ กก.ละ 7 บาท = 700 บาท/ไร่ 2. ค่าสารเพิ่มประสิทธิภาพ 100 บาท/ไร่ = 100 บาท/ไร่

  8. แผนการปรับเปลี่ยนนาข้าวไม่เหมาะสมเป็นอ้อยโรงงาน ปี 2557-2560

  9. แผนที่ปรับเปลี่ยนพื้นที่ปลูกข้าวไม่เหมาะสมเป็นอ้อยโรงงาน รัศมี 50 กิโลเมตร 4 อำเภอ เป้าหมาย ปี 2557 อำเภอชื่นชม 577 ราย 3,375 ไร่ อำเภอนาเชือก 1,131 ราย 5,592 ไร่ อำเภอเชียงยืน 352 ราย 3,993 ไร่ อำเภอโกสุมพิสัย 1,200 ราย 6,500 ไร่

  10. การสนับสนุนงบประมาณจากจังหวัดการสนับสนุนงบประมาณจากจังหวัด จังหวัดมหาสารคาม จะดำเนินการโอนเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2557 โครงการพัฒนาคุณภาพและผลผลิตข้าวหอมมะลิจังหวัดด้วยระบบ GAP ต่อ ก.น.จ.เพื่อมาดำเนินการลดพื้นที่ปลูกข้าว ส่งเสริมการปลูกอ้อยแทน เป็นเงิน 17,841,170 บาท ( เป็นค่าปุ๋ยอินทรีย์ 100 กก./ไร่ กก.ละ 7 บาท = 700 บาท/ไร่ และค่าสารเพิ่มประสิทธิภาพ 100 บาท/ไร่ = 100 บาท/ไร่)

  11. สรุปโครงการเพิ่มประสิทธิภาพ (พื้นที่เหมาะสม) ปี 2557 1) โครงการส่งเสริมการผลิตข้าว GAP และข้าวอินทรีย์ - งบประมาณ 5,000,000 บาท - พื้นที่(S1+S2) จำนวน 10 อำเภอ 2,000 ไร่ เกษตรกร 200 ราย ( ศูนย์ข้าวชุมชน 10 ศูนย์ๆละ 20 ราย)

  12. สรุปโครงการปรับเปลี่ยน(พื้นที่ไม่เหมาะสม) ปี 2557 1) โครงการปรับเปลี่ยนพื้นที่นาไม่เหมาะสมเป็นปลูกอ้อย - งบประมาณ 17,423,270 บาท - วัตถุประสงค์ของโครงการ ปรับเปลี่ยนพื้นที่นาไม่เหมาะสมเป็นปลูกอ้อย - เป้าหมาย เกษตรกรมีรายได้จากการขายอ้อย (ราคาอ้อยประมาณ 1,500 บาท/ตัน) - ผลผลิตโครงการ (output) ลดพื้นที่นาไม่เหมาะสมเป็นพื้นที่ปลูกอ้อย จำนวน 19,460 ไร่ - ผลลัพธ์ของโครงการ (outcome) เกษตรกรมีผลผลิตต่อไร่สูงขึ้น จาก 10 ตัน/ไร่ เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 12 ตัน/ไร่ 2) โครงการส่งเสริมการผลิตมันสำปะหลัง - งบประมาณ 2,900,000 บาท -พื้นที่ (S1+S2) จำนวน 1,000 ไร่ เกษตรกร 200 ราย 3) โครงการพัฒนาโคเนื้อ - งบประมาณ 3,000,000 บาท - ตำบลที่มีความเหมาะสม จำนวน 108 ตำบล รวม 5,000 ราย (โดยจัดตั้งกลุ่มจากทุกอำเภอๆละ 2 กลุ่ม รวม 26 กลุ่มๆละ 193 ราย รวม 5,000 ราย)

  13. การดำเนินงานบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรมการดำเนินงานบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม การจัดตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรมของจังหวัด /คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรมของจังหวัด /คณะทำงานฯระดับอำเภอและระดับตำบล

  14. การจัดเวทีประชาคมสร้างความเข้าใจเกษตรกรในพื้นที่การจัดเวทีประชาคมสร้างความเข้าใจเกษตรกรในพื้นที่ * ผู้ว่าราชการจังหวัดมหาสารคาม (นายนพวัชร สิงห์ศักดา) พร้อมส่วนราชการที่เกี่ยวข้องดำเนินจัดเวทีประชาคม * จัดเวทีประชาคม ณ อำเภอชื่นชม และเชียงยืน * มีผู้แทนจากโรงงานน้ำตาลวังขนาย โรงงานน้ำตาลมิตรกาฬสินธุ์ โรงงานน้ำตาลน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น เข้าร่วมกิจกรรม * รูปแบบกิจกรรม เป็นการเสวนาการปรับเปลี่ยนพื้นที่ข้าวเป็นอ้อยบนเวที การจัดนิทรรศการความรู้การปลูกอ้อย

  15. ผลการปรับเปลี่ยนพื้นที่นาไม่เหมาะสมเป็นปลูกอ้อยโรงงาน ปี 2556/57 เป้าหมายเกษตรกร 3,260 ราย พื้นที่ 19,982 ไร่ ปลูกจริง เกษตรกร 1,521 ราย พื้นที่ 14,101 ไร่

More Related