1 / 74

Update Pediatric HIV treatment and care guidelines

Update Pediatric HIV treatment and care guidelines. รศ . นพ . ภพ โกศลารักษ์ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. การป้องกันและการดูแลรักษา เอช ไอวีใน แม่และเด็ก. จัดเตรียมสไลด์โดย พญ . รังสิมา โล่ห์เลขา โครงการเอดส์โลก ศูนย์ความร่วมมือไทย - สหรัฐด้านสาธารณสุข

galena
Download Presentation

Update Pediatric HIV treatment and care guidelines

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Update Pediatric HIV treatment and care guidelines รศ.นพ.ภพ โกศลารักษ์ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

  2. การป้องกันและการดูแลรักษาเอชไอวีในแม่และเด็กการป้องกันและการดูแลรักษาเอชไอวีในแม่และเด็ก จัดเตรียมสไลด์โดย พญ. รังสิมา โล่ห์เลขา โครงการเอดส์โลกศูนย์ความร่วมมือไทย-สหรัฐด้านสาธารณสุข รศ พญ ธันยวีร์ ภูธนกิจ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศ.พญ. กุลกัญญา โชคไพบูลย์กิจ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล For NHSO and BATS lectures

  3. หัวข้อ • การมุ่งสู่การยุติการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก • สถานการณ์การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกและการเข้าถึงระบบบริการในประเทศไทย • สรุปแนวทางการป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก • สรุปแนวทางการดูแลรักษาทารกที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อ • สรุปแนวทางการดูแลรักษาเด็กและวัยรุ่นที่ติดเชื้อ • From Routine to Research

  4. เป้าหมายทั่วโลก มุ่งสู่การยุติการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกภายในปีพศ 2558 • Global Target #1: ลดจำนวนเด็กติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่จากเดิม 90% • Global Target #2: ลดจำนวนแม่เสียชีวิตจากเอดส์จากเดิม 50% • ลดอัตราการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก • <5% ในประชากรที่กินนมแม่ • <2% ในประชากรที่กินนมผง

  5. เป้าหมายของการลดจำนวนเด็กติดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกรายใหม่และอัตราตายของหญิงติดเชื้อเอชไอวี ภายในปี 2559 ลดการเสียชีวิตจากเอดส์ในเด็กทีติดเชื้อร้อยละ50 1. ลดจำนวนเด็กติดเชื้อรายใหม่ร้อยละ 50 2. ลดจำนวนแม่และเด็กติดเชื้อเอชไอวีที่เสียชีวิตจากเอดส์ร้อยละ 50 - วินิจฉัยการติดเชื้อในเด็กโดยเร็ว - ให้ยาต้านไวรัสเพื่อรักษา - พัฒนาคุณภาพการรักษาให้เด็กได้รับยา กินยาอย่างสม่ำเสมอและลดภาวะแทรกซ้อน Prong 2 target Prong 1 target Prong4 target Prong 3 target *ลดอัตราถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกเหลือร้อยละ 2 แม่และครอบครัวที่ติดเชื้อร้อยละ 95 ได้รับการส่งต่อเข้าสู่ระบบการรักษา ลดอัตราการติดเชื้อรายใหม่ในหญิง15-45 ปีลง 2/3 ของที่คาดประมาณ ลดการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ให้เป็นศูนย์ ( MDG) sarawutboonsuk DOH,MOPH 2555

  6. Post partum through breastfeeding In utero Delivery 36 wk -labor During labor 0-14 wk 14-36 wk 0-6 month 6-24 month 7% 3% 1% 4% 12% 8% การคาดประมาณโอกาสในการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกในระยะต่างๆ Source: De Cock KM, et al. JAMA. 2000; 283 (9): 1175-82 Kourtis et al. JAMA 2001; DeCock et al. JAMA 2000

  7. ปัจจัยที่เพิ่มความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกปัจจัยที่เพิ่มความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก ระหว่างตั้งครรภ์ • ในแม่ที่มีระดับไวรัสในเลือดสูง เช่น ติดเชื้อระหว่างตั้งครรภ์ มีระยะภูมิต้านทานบกพร่องมาก • ในแม่ที่มีการติดเชื้อแทรกซ้อน ทั้งแบคทีเรีย ไวรัส ปรสิต เช่นมาลาเรีย • ในแม่ที่ขาดอาหาร ระหว่างคลอด • ในรายที่หญิงตั้งครรภ์มีระยะโรคเป็นเอดส์และถุงน้ำแตกนานกว่า 4 ชั่วโมง • คลอดโดยวิธีที่มีบาดแผลหรือมีการสัมผัสเลือดและสิ่งคัดหลั่งมาก • มีการติดเชื้อของรกหรือถุงน้ำคร่ำ

  8. ปัจจัยที่เพิ่มความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกปัจจัยที่เพิ่มความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก หลังคลอด • ในแม่ที่ติดเชื้อระหว่างให้นมบุตรหรือมีระดับไวรัสในเลือดสูง • ในเด็กที่กินนมแม่ โดยเฉพาะช่วง 6 เดือนแรก หรือกินนมแม่นาน • ในเด็กที่กินทั้งนมแม่และนมผสม • ในแม่ที่เต้านมอักเสบ หรือเด็กที่มีแผลในปาก • ในแม่ที่ให้นมบุตรและมีการขาดอาหาร

  9. โอกาสในการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกในช่วงก่อนคลอดและระหว่างคลอด โดยแบ่งตามสูตรยาต้านไวรัสที่แม่ได้รับและระดับ CD4 ในแม่ (The UNAIDS reference group on estimates, modelling and projections) Incident peripartum infections with no ARV prophylaxis (range of reported transmission probabilities) = 30% (13-30%) ความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกสามารถลดต่ำกว่าร้อยละ 2 ได้หากให้ยาสูตร HAART และกินนมผสมแทนนมแม่ Rollins N et al. STI 2012

  10. สถานการณ์การป้องกัน HIV จากแม่สู่ลูก การวินิจฉัยการติดเชื้อเอชไอวีในทารกและการรักษาทารกที่ติดเชื้อเอชไอวีในประเทศไทย

  11. การฝากครรภ์ในหญิงไทย แหล่งข้อมูล * รายงานแม่และเด็ก กรมอนามัย 2553 **การประเมินผลโครงการ PMTCT 2552 กรมอนามัย***Teeraratkul. JAIDS 2005;36:206-12 • หญิงตั้งครรภ์ทั่วไปมีอัตราฝากครรภ์ >95% • 47% มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์* • 99% ของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์อย่างน้อย 1 ครั้ง และ 80% ฝากครรภ์อย่างน้อย 4 ครั้ง* • หญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีมีอัตราการฝากครรภ์ 87%** (No ANC 10-15%) • ร้อยละ 73 รู้ว่าติดเชื้อเอชไอวี ในตอนที่มาฝากครรภ์*** • 50% มาฝากก่อนอายุครรภ์ 19 สัปดาห์** • เกือบ 1 ใน 4 มาฝากครรภ์หลังอายุครรภ์มากกว่า 28 สัปดาห์ • ประมาณครึ่งหนึ่ง มีระดับ CD4 <350 ตัว/ลบ.มม • ประมาณ80%ได้ตรวจ CD4 ก่อนคลอด

  12. ผลการปฎิบัติงานในการให้ยาต้านไวรัสในหญิงตั้งครรภ์ผลการปฎิบัติงานในการให้ยาต้านไวรัสในหญิงตั้งครรภ์ Cascade of ARV-PMTCT/ART among Mothers NAP-Plus Database, NHSO 2009-2012 (58.3%) * Under reported หญิงตั้งครรภ์ตรวจ CD4 88% Receipt of ARV (%) by Women Giving Birth with HIV-Seropositive (2013-14) 79% for Rx 2012: N = 2,461 (65% report) 2013: N = 3,193 (79% report) Source: DOH as of 17/04/2014

  13. ผลการปฎิบัติงานการให้การวินิจฉัยการติดเชื้อในทารก Cascade from Early Infant Diagnosis to Antiretroviral Treatment 2008-2011 การตรวจเพื่อวินิจฉัยการติดเชื้อในทารก ครอบคลุมเพียง 70% ในปี 2013 EID program evaluation 2008-2011: Thai MOPH, CDC Thailand, UNICEF-Thailand

  14. MTCT Rates (PCR positive & Weighted Average) Elimination of mother to child HIV transmission Target 2016: <2% Analyzed date Feb 13, data cutoff Dec 2012

  15. พัฒนาการของนโยบายและแนวทางการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกในประเทศไทยพัฒนาการของนโยบายและแนวทางการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกในประเทศไทย การวินิจฉัยในทารก DNA PCR ในทารก DNA PCR ตามความเสี่ยงทารก - การตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีในเด็กที่เกิดจากแม่ติดเชื้อโดยวิธีแอนติบอดี้ที่ 12-18 เดือน นม - นมผง (12 เดือน) - นมผง (18 เดือน) AZT x 4 สัปดาห์ หรือ AZT/3TC 4-6 สัปดาห์ +NVP 2-4 สัปดาห์ AZT x 4 สัปดาห์ หรือ AZT/3TC/NVP 6 สัปดาห์ ยาต้าน PMTCT ลูก ยาลูก AZT x 4 สัปดาห์ HAARTในหญิง ตั้งครรภ์ติดเชื้อทุกราย (14 wks) และให้ยาต่อตามข้อบ่งชี้ AZT 28 สัปดาห์ + NVP 1 ครั้งและ HAART ตามข้อบ่งชี้ ยาต้าน PMTCT แม่ AZT 28 สัปดาห์+ NVP 1 ครั้ง HAART ทุกรายเริ่มยาทันที และให้ยาต่อเนื่องหลังคลอดทุกรายที่สมัครใจ การให้ยาสูตรสั้น (AZT 34 สัปดาห์) VCT -การให้การปรึกษาแบบคู่ การให้การปรึกษาเพื่อตรวจหาการติดเชื้อโดยสมัครใจและเป็นความลับ(VCT) 2543 2546 2547 2550 2553 2557 2536-2543 VCT และนมผสมสำหรับเด็กที่เกิดจากแม่ติดเชื้อ 12 เดือน

  16. การให้ยาต้านไวรัส สามารถป้องกันการติดเชื้อแก่คู่นอนได้ จึงต้องรีบวินิจฉัยการติดเชื้อในคู่ให้ได้เร็วที่สุด และให้การรักษาทันทีTreatment As PreventionPrevention of HIV-1 Infection with Early Antiretroviral Therapy (HPTN052) การให้ยาต้านไวรัสทันที สามารถลดการติดเชื้อแก่คู่นอนได้ 96% เทียบกับการรอรักษาเมื่อ CD4 ต่ำแล้ว Cohen MS. NEJM 2011;1-13.

  17. การวางแผนมีบุตรสำหรับผู้ติดเชื้อและครอบครัวการวางแผนมีบุตรสำหรับผู้ติดเชื้อและครอบครัว ทางเลือกในการทำให้เกิดการตั้งครรภ์ในครอบครัวผู้ติดเชื้อ

  18. การคุมกำเนิด • หญิงติดเชื้อเอชไอวีที่รับประทาน Efavirenz หรือ ritonavir-boosted PIs อาจเป็นผลให้ประสิทธิภาพการคุมกำเนิดของยาเม็ดคุมกำเนิดลดลง • แนะนำให้ใช้ยาเม็ดคุมกำเนิดชนิดฮอร์โมนต่ำที่มี EE ในแต่ละเม็ดไม่น้อยกว่า 30 ไมโครกรัม และเน้นการใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธ์ • การคุมกำเนิดที่มีประสิทธิภาพอื่นๆ สามารถใช้ร่วมกับถุงยางอนามัยซึ่งอาจเป็นถุงยางอนามัยชายหรือถุงยางอนามัยหญิงก็ได้ • การเลือกใช้วิธีคุมกำเนิดขึ้นกับปัจจัยต่างๆ เช่น ความต้องการมีบุตร ระยะเวลาในการคุมกำเนิด ความสะดวกในการใช้ และการยอมรับผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้น ซึ่งควรให้เป็นการตัดสินใจเลือกใช้วิธีคุมกำเนิดของหญิงติดเชื้อเองหลังจากที่ได้ให้ข้อมูลและคำปรึกษาแนะนำแล้ว

  19. Thai Guidelines 2014 ยาต้านไวรัส เพื่อป้องกันการติดเชื้อจากแม่สู่ลูกกรณีที่ 1: หญิงตั้งครรภ์ที่ไม่เคยได้รับยาต้านไวรัสก่อนเริ่มตั้งครรภ์ -ขนาดยา: AZT 200-300 mg q 12 ชม.; 3TC 150 mg q 12 ชม.; AZT + 3TC (300 + 150) q 12 ชม.; LPV/r (200/50) 2 เม็ด q 12 ชม.; EFV 600 mg q24 ชม. • # ในกรณีที่มีอย่างน้อย 1 ข้อต่อไปนี้: • ไม่แน่ใจว่าหญิงตั้งครรภ์จะสมัครใจกินยาต่อหลังคลอดหรือไม่ CD4 >500 cells/mm3 • มีประวัติสามีของหญิงตั้งครรภ์รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสและสงสัยการดื้อยา • หญิงตั้งครรภ์เคยรับยาสูตร AZT+SD NVP มาก่อน

  20. EFV มีความปลอดภัยแม้ในระหว่างตั้งครรภ์ไตรมาสแรกEFV อาจทำให้เกิด Neural Tube Defect แต่จะเกิดในช่วงครรภ์ 4-6 สัปดาห์แรก ซึ่งเมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์มักจะผ่านช่วงนั้นไปแล้ว Birth defects ไม่ต่างกันในเด็กที่แม่ได้ยา EFV และไม่ได้ยา EFV ในขณะตั้งครรภ์ไตรมาสแรก BHIVA 2012; WHO: technical update on treatment optimization use of efavirenz during pregnancy: public health perspective 2012

  21. Thai Guidelines 2014 ยาต้านไวรัส เพื่อป้องกันการติดเชื้อจากแม่สู่ลูกกรณีที่ 2: หญิงตั้งครรภ์ที่เคยได้รับยาต้านไวรัสก่อนเริ่มตั้งครรภ์ *พิจารณางด AZT ระหว่างคลอดได้ ถ้า VL <50 copies/mL

  22. Thai Guidelines 2014 ยาต้านไวรัส เพื่อป้องกันการติดเชื้อจากแม่สู่ลูกกรณีที่ 3: ไม่ฝากครรภ์หรือเสี่ยงสูงต่อการที่ทารกจะติดเชื้อ 2014 เสี่ยงสูง: ART < 4 wk, poor adherence, VL>50 at 36 wk GA/delivery *หากไม่สมัครใจกินยาต่อหลังคลอด หยุดยาตามข้อแนะนำ

  23. การหยุดยาหลังคลอด • กรณีต่อไปนี้ควรแนะนำให้ยาต่อหลังคลอดเสมอ เนื่องจากมีประโยชน์ต่อผู้ป่วยและ/หรือคู่ : • ในรายที่ CD4<500 cell/mm3 • ในรายที่มีคู่ผลเลือดลบหรือไม่ทราบผลเลือดและยังคงมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกัน • ในรายที่มีการติดเชื้อร่วมเช่น วัณโรค ตับอักเสบบี ซี เฉพาะในกรณีที่ผู้ป่วย ไม่สามารถกินยาได้ต่อเนื่องสม่ำเสมอ และไม่ได้เป็นกรณีที่ควรให้ยาต่อหลังคลอดเสมอ หากจำเป็นต้องหยุดยา ให้ปฏิบัติดังนี้ • หากได้ยา LPV/r-based HAART ก่อนคลอด พิจารณาหยุดยาทุกชนิดพร้อมกัน • หากได้ยา TDF+3TC+EFV ก่อนคลอด ให้หยุด EFV ก่อน โดยให้ TDF+3TC ต่ออีก 7 วัน • หากไม่ได้ฝากครรภ์และได้ single dose NVP ระหว่างคลอด แนะนำให้ AZT + 3TC + LPV/r อย่างน้อย 4 สัปดาห์ (tail) และหยุดยาทั้ง 3 ตัวพร้อมกัน

  24. การให้ยาป้องกันโรคติดเชื้อฉวยโอกาสระหว่างตั้งครรภ์การให้ยาป้องกันโรคติดเชื้อฉวยโอกาสระหว่างตั้งครรภ์ CD4<200 cells/mm3 • PCP prophylaxis: TMP-SMX 2 เม็ด วันละ 1 ครั้ง • ไม่ต้องหยุด TMP-SMX ในหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับยาอยู่แล้ว • ในกรณีที่ยังไม่ได้เริ่มยาต้านไวรัสควรเริ่มยาต้านไวรัสก่อนอย่างน้อย 2 สัปดาห์เพื่อให้มั่นใจว่าไม่มีผลข้างเคียงจากยาแล้วจึงเริ่มให้ TMP-SMX ถึงแม้การตั้งครรภ์จะอยู่ในช่วงไตรมาสแรก • ให้เสริม folic acid 1 เม็ด วันละ 1 ครั้งไปด้วย CD4 <100 cells/mm3 • ไม่แนะนำการป้องกันการติดเชื้อcryptococcal meningitis ด้วยการให้ fluconazole ในหญิงตั้งครรภ์

  25. การตรวจทางห้องปฏิบัติการในหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับยาต้านไวรัสการตรวจทางห้องปฏิบัติการในหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับยาต้านไวรัส

  26. ห้ามให้ยาmetherginในผู้ป่วยที่ได้รับสูตรยาต้านไวรัสที่มียา Protease inhibitor หรือEFV • ผู้ป่วยทุกรายที่จะผ่าตัดคลอดแนะนำให้ยา AZT 600 mg ครั้งเดียว (และยา NVP 200 mg ครั้งเดียว ในกรณีครรภ์เสี่ยงสูง) อย่างน้อย 4 ชั่วโมงก่อนเริ่มผ่าตัด

  27. แนวทางการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีผลเลือดลบระหว่างฝากครรภ์หรือแนวทางการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีผลเลือดลบระหว่างฝากครรภ์หรือ มาคลอดแต่สามีมีผลเลือดบวก • ซักประวัติ • พฤติกรรมเสี่ยงช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา การมีเพศสัมพันธ์ การใช้ถุงยางอนามัย • ไข้ ต่อมน้ำเหลืองโต ปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ เจ็บคอ ผื่น • ประวัติการรักษาและระดับไวรัสในเลือดของสามี แน่ใจว่าไม่มีความเสี่ยงหรือเสี่ยงต่ำ เช่น ไม่มีเพศสัมพันธ์ใน 1 เดือนที่ผ่านมา สามีVL<50copies/mL มีความเสี่ยง เช่น มีเพศสัมพันธ์ไม่ป้องกันใน 1 เดือนที่ผ่านมา สามียังไม่รักษาหรือ VLสูง หรือไม่แน่ใจ (ซักประวัติไม่ได้) GA<36 สัปดาห์: GA >36 สัปดาห์: • ตรวจ anti-HIV ซ้ำ เมื่อ GA 32-34 สัปดาห์ เมื่อเจ็บท้องคลอด และ ทุก 6 เดือนหลังคลอด • ดูแลแม่และเด็กเหมือนปกติ • กินนมแม่ได้หากผลเลือดเป็นลบและไม่มีความเสี่ยงเพิ่มเติม • แนะนำการป้องกันและถุงยางอนามัย • ติดตามผลเลือด anti HIV • (4th gen) ทันที (หากครั้งแรกตรวจ ด้วย 3rd gen) และตรวจซ้ำอีก2 สัปดาห์ต่อมา หากผลเป็นลบให้ ตรวจเลือดที่ GA 32-34 สัปดาห์ และเมื่อเจ็บท้องคลอด • หากคนไข้ยังมีพฤติกรรมเสี่ยงสูงโดยไม่ป้องกันและใกล้คลอด (>32 สัปดาห์) ให้การป้องกันไปก่อนและงดนมแม่ • ให้การป้องกันไปก่อนเหมือนหญิงติดเชื้อ • งดนมแม่ ติดตามผลเลือดแม่เช่นเดียวกับที่กล่าวมา (เจาะเลือดก่อนเริ่มยา) • ถ้าผลเลือดแม่เป็นลบหลังคลอดให้หยุดยาต้านไวรัสในแม่ได้ • ติดตามผลเลือดแม่ต่อเนื่องจนพ้น window period และให้การดูแลทารกเหมือนแม่ no ANC จนกระทั่งพ้นระยะ window period (6 สัปดาห์) ของแม่แล้ว จึงหยุดยาได้ แต่ควรจะงดนมแม่ หมายเหตุ การตรวจ HIV DNA หรือ RNA (Qualitative) ในหญิงตั้งครรภ์อาจพิจารณาทาได้ในที่ที่มีความพร้อมเพื่อช่วยในการวินิจฉัยการติดเชื้อให้เร็วขึ้น

  28. หลักในการดูแลทารก ที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อเอชไอวี 1. ป้องกันการติดเชื้อให้ดีที่สุด 2. ทำให้เด็กมีสุขภาพแข็งแรง 3. รีบวินิจฉัยโรคให้เร็วที่สุด เพื่อเริ่มยาต้านไวรัสโดยเร็ว จะได้มีร่างกายแข็งแรง สติปัญญาปกติ และมีโอกาสหาย

  29. การให้นมลูก ทำให้ทารกติดเชื้อได้ 7-10% • ห้ามเลี้ยงลูกด้วยนมแม่โดยเด็ดขาด • ให้ใช้นมผงทดแทนนมแม่ (กระทรวงให้ฟรี) • และห้ามให้นมแม่สลับกับนมผง

  30. แนวทางการให้ยาและวินิจฉัยทารก ขึ้นอยู่กับความเสี่ยง

  31. การตรวจวินิจฉัยการติดเชื้อในทารก ต้องทำให้เร็วที่สุด และเริ่มรักษาเด็กที่ติดเชื้อด้วย AZT/3TC/LPV/r ให้เร็วที่สุด AZT/3TC/NVP 0 1 mo 2 mo 4 mo .................12-18 mo age PCR- at 1 mo หยุดยา AZT/3TC/NVP ได้ PCR+ at 1 mo เริ่ม AZT+3TC+LPV/r PCR+ at 2 mo เริ่ม AZT+3TC+LPV/r เริ่ม AZT+3TC+LPV/r PCR+ at 4 mo • ถ้าเสี่ยงสูงให้เก็บเลือดใส่กระดาษกรองไว้ ส่งเหมือน ตรวจไทรอยด์เมื่อแรกเกิด • หากผลPCR เป็นบวกควรรีบตรวจซ้ำทันที

  32. *ทารกคลอดก่อนกำหนดอายุครรภ์30-35 สัปดาห์: ลดขนาด AZT เป็น 2 mg/kg ทุก 12 ชม. และปรับเพิ่มเป็น ทุก 8 ชม. หลังอายุ 2 สัปดาห์ *ทารกคลอดก่อนกำหนดอายุครรภ์<30 สัปดาห์: ลดขนาด AZT เป็น 2 mg/kg ทุก 12 ชม. และปรับเพิ่มเป็นทุก 8 ชม. หลังอายุ 4 สัปดาห์

  33. การเริ่มให้ยาต้านไวรัสทุกระยะมีประโยชน์จนถึงอายุ 48 ชม.Transmission Rate in NY State, 1995-97 Timing of AZT Initiation ควรให้ยาในทารกที่อายุน้อยกว่า 48ชม.เสมอ ไม่ว่ามารดาจะได้รับยามาก่อนหรือไม่ก็ตาม 6% n=423 Antepartum 9% n=86 Babies <48 hr-old 18% n=38 Babies >48 hr-old 20% n=237 No AZT Rx 0 % 5 % 10 % 15 % 20 % 25 % 30 % Transmission Rate Wade, et al. NEJM 1998

  34. จำนวนเด็กที่ติดเชื้อรายใหม่ ลดน้อยลงมากในแต่ละปี

  35. การตรวจรักษาผลข้างเคียงจากยาที่ได้รับขณะอยู่ในครรภ์หรือหลังคลอดการตรวจรักษาผลข้างเคียงจากยาที่ได้รับขณะอยู่ในครรภ์หรือหลังคลอด • AZT: Transient anemia, + mitochondrial dysfunction • AZT+3TC: Neutropenia, thrombocytopenia, + mitochondrial dysfunction • d4T / ddI : Safe (limited data) • NVP (single dose): Transient anemia • EFV: Myelomeningocele • PIs: May cause premature labor, hyperglycemia

  36. การให้วัคซีนในเด็กที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อ และเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี Routine (EPI) Optional Hib HAV VZV (if CD4>15% x2 doses in 3 M) Pneumococcal conjugate vaccine Rota • BCG (แรกเกิด • HBV (แรกเกิด) • DTP -HB • OPV or IPV • MMR (CD4>15%, not ‘C’) • JE (inactivated) • Influenza

  37. แนะนำการดูแลด้านสุขภาพเด็ก เป้าหมาย : ให้มีสุขภาพดี มีความสุข • ให้อาหารที่เหมาะตามวัย • แนะนำสุขอนามัยที่ดี หมั่นล้างมือ • ดื่มน้ำต้มสุก สะอาด • ไม่เลี้ยงสัตว์ที่มีการสัมผัส • ให้มีกิจกรรมตามปกติที่เหมาะกับวัย • ส่งเสริมให้ไปโรงเรียน ร่วมกิจกรรมได้ • ดูแลสุขภาพฟัน ตรวจร่างกายเป็นระยะ • ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคแก่ผู้ปกครอง ช่วยเหลือทางจิตใจ และสังคม ฟันผุจากการดูดนมขวดตลอดเวลา

  38. โรคติดเชื้อฉวยโอกาส ที่ควรเฝ้าระวังและให้ยาป้องกัน ในเด็กที่คลอดจากแม่ที่ติดเชื้อเอชไอวี Pneumocysticjiroveci(PCP) เพราะรุนแรง และอาจเป็นอาการแรกของ HIV และ TMP/SMX ช่วยลดการป่วยจากปอดอักเสบอื่นๆในทารกด้วย เริ่ม TMP-SMX ตั้งแต่อายุ 1 เดือน จนกว่าจะเห็นผล PCR เป็นลบอย่างน้อย 1 ครั้ง วัณโรค ให้ INH 9 เดือน ถ้ามีสมาชิกในบ้านหรือผู้ไกล้ชิดเป็นวัณโรค

  39. เป้าหมายในการรักษาเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี ด้วยยาต้านไวรัสและอื่นๆ • Newborn babies: • Able to stop treatment: CURE (in the far future) • Preserve brain and growth • Prevent OI • Children: • Preserve growth and quality of life • Prevent long-term complications and prognosis • Adolescents: • Preserve normal life: life-style, education, career, sex, family, self-esteem • Prevent long-term complications and prognosis • Contribution to society/country/no spreading of HIV

  40. เกณฑ์การเริ่มยาต้านไวรัสในเด็กติดเชื้อเอชไอวี 2014 เด็กมีโอกาสแพร่เชื้อแก่ผู้อื่นน้อย จึงไม่จำเป็นต้องTreatment as Prevention

  41. ทำไมต้องรีบวินิจฉัย และเริ่มการรักษาในทารกเร็วที่สุด หวังผลรอดชีวิตและสุขภาพดี ฉลาด หวังต่อไปหยุดยาได้อาจหาย CHER รักษาที่ 6-12 week ตายลดลง 76% VISCONTI 14 pts Mississippi baby รักษาเร็วมี neurodevelopment ดีกว่า

  42. รายงานเด็กในรัฐ Mississippi: Functional Cure of HIV Persaud D, 2013 CROI, Abstract 48LB

  43. รายงานเด็กในรัฐ MississippiFail the hope of functional Cur:ไวรัสกลับมาใหม่หลังหยุดยาได้ 2 ปี แต่การที่สามารถหยุดยาได้ถึง 2 ปี เป็นเรื่องที่น่าทึ่ง และอาจนานกว่านี้ได้ ถ้ารักษาเร็วขึ้น At 46 month VL 16, 750 copies/ml UndetectableVL for 28 months after off Rx Persaud D, 2013 CROI, Abstract 48LB

  44. ยาต้านไวรัสในเด็กติดเชื้อเอชไอวี ARV naïve 2014 ควรส่ง genotype ก่อนเริ่มการรักษาด้วย LPV/r ในทารกทุกราย เพื่อเป็นข้อมูลในการ switch ยาเมื่อโตขึ้น

  45. LPV/r มีประสิทธิภาพดีกว่า NVP ในทารกอายุ 2-36 เดือน ทั้งที่เคยและไม่เคยได้ NVP มาก่อน: 6 African countries and India (N=288) May be NVP require step-up dosing, or LPV/r is more forgiving. Violari A. NEJM 2012;366:2380-9

  46. เด็กที่ติดเชื้อในประเทศไทย น่าจะได้รับ ยาต้านไวรัสอย่างเหมาะสมหมดแล้ว ดูแลกันจนโตหมดแล้ว...... การดูแลรักษาวัยรุ่นที่ติดเชื้อเอชไอวี ถ้าเป็นการติดเชื้อใหม่ ให้ใช้ยาต้านไวรัสแบบผู้ใหญ่ ควรให้การรักษาทันที เพราะมีโอกาสแพร่เชื้อได้สูง วัยรุ่นที่ติดเชื้อตั้งแต่เด็ก ต้องดูแลภาวะที่เป็นผลจากการติดเชื้อเอชอวี และผลข้างเคียงจากการใช้ยาต้านไวรัสระยะยาว

More Related