1 / 38

แนวทางการจัดทำรายงาน PMQA และแนวทางการประเมิน รพ.สต. คุณภาพ

แนวทางการจัดทำรายงาน PMQA และแนวทางการประเมิน รพ.สต. คุณภาพ ตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ. Flow Chart การถ่ายทอดนโยบาย นพ.สสจ. ชลบุรี. เริ่ม. รับนโยบายและแนวทางปฏิบัติ จากกระทรวงสาธารณสุข และผู้ว่าราชการจังหวัดชลบุรี. วิเคราะห์นโยบายและประยุกต์ปรับใช้ให้เข้ากับองค์กร.

gaille
Download Presentation

แนวทางการจัดทำรายงาน PMQA และแนวทางการประเมิน รพ.สต. คุณภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการจัดทำรายงาน PMQA และแนวทางการประเมิน รพ.สต. คุณภาพ ตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ

  2. Flow Chart การถ่ายทอดนโยบาย นพ.สสจ. ชลบุรี เริ่ม รับนโยบายและแนวทางปฏิบัติ จากกระทรวงสาธารณสุข และผู้ว่าราชการจังหวัดชลบุรี วิเคราะห์นโยบายและประยุกต์ปรับใช้ให้เข้ากับองค์กร 3 ธงนำ 4 เข็มมุ่ง ธงนำที่ ๑ ลดคนป่วย ธงนำที่ ๒เพิ่มคนสุขภาพดี ธงนำที่ ๓ ขยายการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน เข็มมุ่งที่ ๑ พัฒนาระบบบริการสุขภาพตาม Service Plan เข็มมุ่งที่ ๒ พัฒนาระบบข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศทุกระดับ เข็มมุ่งที่ ๓พัฒนาบุคลากรให้มีขีดสมรรถนะสูงและมีความสุข เข็มมุ่งที่ ๔ พัฒนาการ Implement งานในพื้นที่ให้เกิด Impact C A N D O 1.Self care 1. เรียนรู้และรู้จักกัน 2. Empowerment 3. เพิ่มผลคุณภาพบริการ 4. ยกระดับบริการ ลดโรค ลดตาย ลดแทรกซ้อน รพ./สสอ./รพ.สต. เครือข่ายสุขภาพ/อสม. อปท./ประชาชนในพื้นที่ 2. Accessibility to essential Care

  3. การกำหนดทิศทางอย่างชัดเจนการกำหนดทิศทางอย่างชัดเจน การนำองค์กร วิเคราะห์สภาพแวดล้อม (SWOT) การปรับทิศทางด้านสุขภาพ นโยบายรัฐบาล สถานการณ์ด้านสุขภาพของประชาชนจังหวัดชลบุรีในอนาคต ความต้องการของผู้รับบริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย นโยบายกระทรวง ความเสี่ยงด้านสุขภาพของประชาชนจังหวัดชลบุรี นโยบายจังหวัด การกำหนดยุทธศาสตร์ กำหนดทิศทางการทำงานของสำนักงานสาธารณสุขและหน่วยงานในสังกัด ประกาศนโยบาย ทบทวนวิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม กำหนดเป้าประสงค์ กำหนดยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ การปฏิบัติงาน แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี / แผนปฏิบัติราชการ 1 ปี ธงนำที่ ๑ ลดคนป่วย เข็มมุ่งที่ ๑ พัฒนาระบบบริการสุขภาพตาม Service Plan เข็มมุ่งที่ ๓ พัฒนาบุคลากรให้มีขีดสมรรถนะสูงและมีความสุข ธงนำที่ ๒เพิ่มคนสุขภาพดี เข็มมุ่งที่ ๒ พัฒนาระบบข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศทุกระดับ เข็มมุ่งที่ ๔ พัฒนาการ Implement งานในพื้นที่ให้เกิด Impact ธงนำที่ ๓ ขยายการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน การควบคุมยุทธศาสตร์ ติดตามและนิเทศการปฏิบัติงาน ประเมินผลความก้าวหน้ายุทธศาสตร์ สิ้นสุด ณ 31 ส.ค.

  4. สรุปผลการตรวจเยี่ยม รพ.สต. คุณภาพ ระหว่างวันที่ 4 มิถุนายน ถึง 9 กรกฎาคม 2556 ประเด็นการเยี่ยม รพ.สต. คุณภาพ เป้าหมาย รพ.สต. 25 แห่ง ด้านการสื่อสารนโยบาย ด้านแผนปฏิบัติการสู่ผลสัมฤทธิ์ นโยบาย 3 ธงนำ ด้านการพัฒนาระบบบริการสุขภาพของ โรงพยาบาล สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ด้านการบรูณาการงานด้านสาธารณสุขระหว่าง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ ชุมชน

  5. สรุปผลการตรวจเยี่ยม รพ.สต. คุณภาพ ระหว่างวันที่ 4 มิถุนายน ถึง 9 กรกฎาคม 2556 ด้านการสื่อสารนโยบาย เมื่อพิจารณาถึงผลสัมฤทธิ์ด้านการสื่อสารนโยบาย พบว่า หน่วยบริการปลายทางของนโยบาย (รพ.สต.) ส่วนใหญ่ ได้รับนโยบายจากการประชุมระดับจังหวัดและอำเภอ และมีรูปแบบการดำเนินงานที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับบริบทของพื้นที่ โดยมีเป้าหมายเดียวกัน นอกจากนี้ พบความเสี่ยง 3 เรื่องหลัก ดังนี้ 1. การจัดการด้านข้อมูลคัดกรอง DM/HT มีหน่วยบริการบางแห่งไม่สามารถจำแนกสีได้ถูกต้อง ซึ่งต้องย้อนกลับมาพิจารณาถึงแนวทางการดำเนินงาน คำนิยาม ที่ส่งมอบให้กับหน่วยบริการ 2. การเพิ่มพูนทักษะกับทีมสุขภาพ มีการแสดงผลการวิเคราะห์ส่วนขาดในบางแห่ง แต่ไม่พบแนวทางการพัฒนาและเพิ่มพูนทักษะที่จำเป็นในประเด็นปัญหา ซึ่งอาจ GAP ในการสื่อสารแนวทางระหว่างจังหวัดและอำเภอ

  6. สรุปผลการตรวจเยี่ยม รพ.สต. คุณภาพ ระหว่างวันที่ 4 มิถุนายน ถึง 9 กรกฎาคม 2556 ด้านการสื่อสารนโยบาย 3. มีการจำแนกกลุ่มเป้าหมาย WECANDO แต่ไม่เห็นกระบวนการดำเนินงานในกลุ่มเป้าหมาย WECANDO ชัดเจน ด้านแผนปฏิบัติการสู่ผลสัมฤทธิ์ นโยบาย 3 ธงนำ พบว่า มีการดำเนินการในรูปแบบ Routine ไม่สามารถแสดงให้เห็นกระบวนการที่จะส่งผลให้ นโยบาย 3 ธงนำ สำเร็จได้ เมื่อพิจารณาจากแผนปฏิบัติการที่หน่วยบริการนำเสนอ

  7. สรุปผลการตรวจเยี่ยม รพ.สต. คุณภาพ ระหว่างวันที่ 4 มิถุนายน ถึง 9 กรกฎาคม 2556 ด้านการพัฒนาระบบบริการสุขภาพของ โรงพยาบาล สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล พบว่า การใช้กรอบพัฒนา DHS สามารถทำให้หน่วยบริการสาธารณสุขมีมุมมองในการพัฒนาพื้นที่รับผิดชอบร่วมกันได้ ถึงแม้ยังไม่สามารถเห็นเป็นรูปธรรมภายในระยะเวลาอันสั้น แต่ถ้าพิจารณาแผนระยะยาวอาจมีผลลัพธ์ที่พึ่งพอใจ

  8. สรุปผลการตรวจเยี่ยม รพ.สต. คุณภาพ ระหว่างวันที่ 4 มิถุนายน ถึง 9 กรกฎาคม 2556 ด้านการบรูณาการงานด้านสาธารณสุขระหว่างโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ ชุมชน ในการดำเนินการประเด็นนี้ให้สำเร็จ ขึ้นอยู่ที่ ต้นทุนทางสังคมของประชาชนในชุมชนที่ตระหนักถึงภัยสุขภาพ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้การสนับสนุนการดำเนินงานของชุมชน เช่น รพ.สต. หนองหงส์ รพ.สต. บ้านหนองยาง รพ.สต. หนองข้างคอก เป็นต้น

  9. ความเชื่อมโยงของเกณฑ์มาตรฐานต่างกับขั้นการพัฒนา DHS

  10. ความเชื่อมโยงของเกณฑ์มาตรฐานต่างกับขั้นการพัฒนา DHS

  11. ความเชื่อมโยงของเกณฑ์มาตรฐานต่างกับขั้นการพัฒนา DHS

  12. ความเชื่อมโยงของเกณฑ์มาตรฐานต่างกับขั้นการพัฒนา DHS

  13. แผน DHS ของอำเภอท่านเป็นอย่างไร ? ผลลัพธ์ ประเด็นพัฒนา แผน DHS ผู้รับบริการ WECANDO ผู้มีส่วนร่วม WHO? บริการหลักที่ควรมี กิจกรรมด้านบริหารจัดการ กิจกรรมด้านพัฒนาบุคลากร กิจกรรมด้านการมีส่วนร่วมในชุมชน

  14. ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ รายละเอียดศึกษาเพิ่มเติม ได้ที่ KPI Template

  15. รายงานผลการดำเนินงาน PMQA 1 . อธิบายสภาพปัญหา และสภาพการปฏิบัติงานเดิมก่อนที่จะเริ่มการปรับปรุง (อธิบายความเป็นมา ปัญหา โดยให้เขียนประเด็นที่หัวใจสำคัญ รวมถึงกลุ่มที่ได้รับผลกระทบ) 2 .อธิบายทิศทางและนโยบาย ของคณะกรรมการ DHS อำเภอกำหนด เช่น วัฒนธรรมองค์กร ค่านิยมร่วม และสภาพการปฏิบัติงานเดิมก่อนที่จะริเริ่มดำเนินงาน DHS เพื่อแสดงถึงแก้ปัญหาตามข้อ 1 โดยให้นำเสนอประเด็นที่เป็นหัวใจสำคัญ แนวโน้ม และเงื่อนไขของสถานการณ์ รวมถึงกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับผลกระทบด้วยคณะกรรมการ DHS ระดับอำเภอ

  16. รายงานผลการดำเนินงาน PMQA 3. แนวทางและกลยุทธ์ที่นำมาใช้ในการดำเนินการ (สรุปวัตถุประสงค์หลักและกลยุทธ์ที่ใช้ว่ามีวิธีการอย่างไร ในการจัดบริการหลัก เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ ผสมผสาน ต่อเนื่องของประชาชน แสดง Flowchart การให้บริการแบบใหม่ที่ปรับปรุงจากแบบเดิม) 4 . ระบุผู้นำเสนอแนวทางการแก้ปัญหา ผู้ดำเนินการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการดำเนินการของคณะกรรมการ DHS (ระบุว่าใครมีส่วนร่วมในการออกแบบบริการหลักที่สำคัญในกระบวนการ และผู้เกี่ยวข้องดำเนินการอย่างไรบ้าง)

  17. รายงานผลการดำเนินงาน PMQA 5. ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ ODOP (อธิบาย ผลลัพธ์ ผลสำเร็จ โดยให้อธิบายถึงวิธีการวัดผลทั้งในเชิงคุณภาพ และ ใครคือผู้รับประโยชน์) 6 . อธิบายขั้นตอนของบริการหลักที่กำหนดและการนำไปปฏิบัติ 6.1 ลำดับขั้นตอนในการพัฒนา 6.2 ลำดับเหตุการณ์ดำเนินการหลักในการปฏิบัติ

  18. รายงานผลการดำเนินงาน PMQA 7. ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไขปัญหา (อธิบาย ผลลัพธ์ ผลสำเร็จ โดยให้อธิบายถึงวิธีการวัดผลทั้งในเชิงคุณภาพ และ ใครคือผู้รับประโยชน์) 8 . การสร้างความยั่งยืนและการขยายผลไปสู่บริการอื่นๆ (อธิบายถึงวิธีการที่ทำให้เกิดความยั่งยืน และให้อธิบายว่าหากบริการนี้เผยแพร่สู่สาธารณะจะสามารถนำมาขยายผลได้อย่างไร) 9. บทเรียนที่ได้รับ คืออะไร (อธิบายองค์ประกอบหลักที่ทำให้ประสบความสำเร็จ)

  19. บทบาทของคณะกรรมการประเมิน รพ.สต. คุณภาพ คณะกรรมการแบ่งเป็น 2 ส่วน ดังนี้ 1. คณะกรรมการประเมินผลการนำเสนอการดำเนินงาน 2. คณะกรรมการตรวจเยี่ยมกระบวนการ

  20. คณะกรรมการประเมินผลการนำเสนอการดำเนินงานคณะกรรมการประเมินผลการนำเสนอการดำเนินงาน บทบาทของคณะกรรมการประเมินผลการนำเสนอการดำเนินงาน 1. อ่านรายงานและรับฟังการนำเสนอ 2. พิจารณาให้คะแนนตามกรอบการประเมินผลการดำเนินงาน 3. บันทึกประเด็นที่ต้องการให้คณะกรรมการตรวจเยี่ยม ตรวจสอบกระบวนการเพิ่มเติม หรือผลลัพธ์ที่ต้องการผลในเชิงประจักษ์ 3. บันทึกข้อเสนอแนะ เพื่อหาโอกาสที่จะพัฒนาไปทิศทางที่สอดคล้องกับค่านิยมของเครือข่ายนั้นและควรยกตัวอย่างด้วยว่า รพ.สต.ที่รับการตรวจต้องดำเนินการอย่างไรที่จะเกิดคุณภาพและมีประสิทธิภาพในการทำงาน 4. Filed Note ของคณะกรรมการ เพิ่มเติม

  21. คณะกรรมการตรวจเยี่ยมกระบวนการคณะกรรมการตรวจเยี่ยมกระบวนการ บทบาทของคณะกรรมการตรวจเยี่ยมกระบวนการ 1. นำผลการบันทึกข้อสังเกตจากคณะกรรมการประเมินผลการนำเสนอการดำเนินงาน มาตรวจสอบการดำเนินงานของ รพ.สต. โดยมองภาพรวมของระบบบริการที่เชื่อมโยงระหว่าง Context, Core Value, ศักยภาพในการสนับสนุนของ รพ. หรือ CUP ใน 2 ประเด็น คือ Self care และ Accessibility to essential Care 2. บันทึกสิ่งที่พบตามประเด็นในการลงพื้นที่ 3. บันทึกข้อเสนอแนะ เพื่อหาโอกาสที่จะพัฒนาไปทิศทางที่สอดคล้องกับค่านิยมของเครือข่ายนั้น และควรยกตัวอย่างด้วยว่า รพ.สต.ที่รับการตรวจต้องดำเนินการอย่างไรที่จะเกิดคุณภาพและมีประสิทธิภาพในการทำงาน 4. ให้คะแนนการตรวจประเมินตามแบบฟอร์มที่กำหนด 5. สรุปรายงานแต่ละหน่วยบริการ ในประเด็นดังนี้ กระบวนการที่สำคัญของ ODOP มีผลลัพธ์ดีขึ้น ที่คณะกรรมการพบ ข้อเสนอแนะที่ต้องดำเนินการและแนวทางสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

  22. ประเด็นพิจารณา รพ.สต.คุณภาพ ส่วนที่ 1 1. ทิศทางและนโยบาย 2. แผนการปฏิบัติงาน 3. การเรียนรู้ความต้องการของผู้รับบริการ 4. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ 250 คะแนน 5. การพัฒนาบุคลากรและเครือข่าย 6. การปรับระบบและกระบวนการให้บริการ เชื่อมโยงชุมชน ส่วนที่ 2 ผลลัพธ์ตาม ODOP (ต้องแสดงผลลัพธ์ในมุมมอง 4 มิติ) ส่วนที่ 3 กรณีศึกษา หรือ เรื่องเล่า จากการเยี่ยมบ้าน 100 คะแนน ส่วนที่ 4 การตรวจเยี่ยมกระบวนการ เพื่อหาความสมเหตุสมผลของ ผลลัพธ์การดำเนินงาน

  23. การนำเสนอผลงาน รพ.สต.คุณภาพ (250 คะแนน) 1. อธิบายบริบท Context 1.1 บริบทชุมชน เชื่อมโยงกับความจำเป็นด้านสุขภาพและการจัดบริการทั้งปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต สิ่งที่ต้องแสดง - สภาพทางกายภาพและสังคมของชุมชน และแนวโน้มการเปลี่ยนแปลง เช่น ความเป็นชุมชนเมือง การเป็นเขตอุตสาหกรรม การประกอบอาชีพ พฤติกรรมการกินการอยู่ ฯลฯ ซึ่งส่งผลต่อ “ปัญหา/ความจำเป็น/ความต้องการสุขภาพ” ของผู้คนในชุมชน ที่เป็นอยู่ในปัจจุบันและแนวโน้มจะเกิดขึ้นในอนาคต - ทุนทางสังคม ศักยภาพของผู้นำชุมชน ในการจัดการกับ “ปัญหา/ความจำเป็น/ความต้องการสุขภาพ” ของคนในชุมชน ทั้งปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต

  24. การนำเสนอผลงาน รพ.สต.คุณภาพ (250 คะแนน) 1.2 อธิบายทิศทางและนโยบาย ของคณะกรรมการ DHS อำเภอกำหนด เช่น วัฒนธรรมองค์กร ค่านิยมร่วม และสภาพการปฏิบัติงานเดิมก่อนที่จะริเริ่มดำเนินงาน DHS เพื่อการแก้ปัญหา โดยให้นำเสนอประเด็นที่เป็นหัวใจสำคัญ แนวโน้ม และเงื่อนไขของสถานการณ์ รวมถึงกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับผลกระทบด้วย ระบบการให้บริการสุขภาพของรพ.สต. สิ่งที่ต้องแสดง - ภาระงาน จำนวนประชากรในพื้นที่ รวมถึง สิทธิการเข้าถึงบริการ กลุ่มเป้าหมายที่ต้องดูแล (WECANDO) - ทรัพยากร เช่น 1) งบประมาณ UC สป.2) การสนับสนุนคน 3)Unity Team 4) แผนเงินบำรุง 5) แผน PP 6) แผนเงินลงทุน และ อื่น ฯลฯ - วัฒนธรรมองค์กร ค่านิยมร่วม เป็นแนวคิดและกระแสหลักในการออกแบบและจัดระบบบริการ ทั้งที่เป็นลายลักอักษร และเป็นที่รับรู้/concern ของผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน - Flowchart การให้บริการสุขภาพของรพ.สต. แบบเดิม เช่น การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรค คุ้มครองผู้บริโภค ด้านการรักษาพยาบาล ฟื้นฟูสภาพ - สรุปผลงาน 3 ปีที่ผ่านมา - ประเด็นท้าทาย ในการดำเนินงาน (ODOP)

  25. การนำเสนอผลงาน รพ.สต.คุณภาพ 2. แนวทางและกลยุทธ์ที่นำมาใช้ในการดำเนินการ 2.1 สรุปวัตถุประสงค์หลักและกลยุทธ์ที่ใช้ว่ามีวิธีการอย่างไร 2.2 การจัดบริการ เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ ผสมผสาน ต่อเนื่องของประชาชน แสดง Flowchart การให้บริการสุขภาพของรพ.สต. แบบใหม่ที่ปรับปรุงจากแบบเดิม - ใน รพ.สต. - ในชุมชน - Catchment Area - ระบบสนับสนุน (ความรู้/เทคโนโลยี การพัฒนาคน ระบบส่งต่อ ระบบยาและเวชภัณฑ์ IC ระบบข้อมูลเพื่อการกำกับติดตามและประเมินผล การเงิน/การบริหารจัดการ ฯลฯ 2.3 การจัดบริการสุขภาพแบบองค์รวม เป็นบริการที่สามารถแสดงให้เห็นถึงความยึดโยงกับ ค่านิยมร่วม โดยผสมผสานการจัดบริการ ส่งเสริม ป้องกัน รักษา และ ฟื้นฟู สำหรับกลุ่มเป้าหมายหลักหรือประเด็นหลัก (ODOP) ซึ่ง รพ. (CUP) จะต้องแสดง กลยุทธ์ และความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาให้เป็นระบบและมีผลลัพธ์ที่ชัดเจน ทั้งนี้ ขอให้นำเสนอพัฒนาการของการจัดบริการที่เริ่มต้นจาก กรณีศึกษา (case) ในพื้นที่เอง จนกระทั้งนำไปสู่การพัฒนาเป็นระบบบริการสุขภาพครอบคลุมทุก รพ.สต. ใน อำเภอนั้นๆ - ในกรณีที่เป็น .กลุ่มเป้าหมาย” เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้พิการ ฯลฯ จะต้องเป็นประเด็นที่ครอบคลุมทุกประเด็น (issue) ที่เกี่ยวข้อง - ในกรณีที่เป็น “ประเด็นสุขภาพ” การบริการส่งเสริมสุขภาพ การควบคุมป้องกันโรค บริการทันตสุขภาพ ฯลฯ จะต้องเป็นการจัดบริการซึ่งครอบคลุมทุกกลุ่มวัย/Setting ที่เกี่ยวข้อง 2.4 การมีส่วนร่วมในการออกแบบหรือดำเนินการจัดบริการระบบปฐมภูมิเช่น การจัดทำแผน SRM และ SLM แสดงให้เห็นถึง การสนับสนุนการดำเนินงานของ รพ.สต. ที่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน

  26. การนำเสนอผลงาน รพ.สต.คุณภาพ 3. ประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดบริการ 3.1 อธิบาย ผลลัพธ์ ผลสำเร็จ โดยอธิบายถึงวิธีการวัดผลทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ 3.2 ความครอบคลุมบริการในกลุ่มเป้าหมายต่างๆ และความพึงพอใจของชุมชนและผู้รับบริการ 3.3 ความรับรู้และพฤติกรรมสุขภาพที่เปลี่ยนแปลงไปของกลุ่มเป้าหมาย 3.4 ความตระหนักในคุณค่าของบริการปฐมภูมิของผู้ปฏิบัติงานและผู้เกี่ยวข้อง รวมถึงการได้รับสิ่งตอบแทน การยกย่อง (External incentive) การเรียนรู้/ความสุข/ความภาคภูมิใจ (internalincentive) 3.5 การเปลี่ยนแปลงสุขภาพของกลุ่มเป้าหมายหลักหรือกลุ่มเป้าหมายภายใต้เป้าหมายหลักหรือประเด็นหลัก (ODOP) สภาวะสุขภาพ/สภาวะโรค ความสามารถในการดูแลสุขภาพตนเอง 4. อธิบายขั้นตอนสำคัญในการดำเนินงาน OneDistrictOneProject(ODOP) 4.1 อธิบายขั้นตอนและลำดับเหตุการณ์การดำเนินหลักในการเริ่มพัฒนาจนถึงขั้นวางแผน 4.2 ทรัพยากรที่ใช้ในการดำเนินการ 4.3 ลำดับขั้นตอนในการดำเนินการ > การเพิ่มพูนทักษะและพัฒนาส่วนขาด > การพัฒนาระบบบริการให้มีคุณภาพ > การสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในชุมชน > การขยายผลไปยัง รพ.สต. อื่นๆ

  27. การนำเสนอผลงาน รพ.สต.คุณภาพ 5.ผลลัพธ์การดำเนินการ 5.1 แสดงผลลัพธ์ทั้ง 4 มิติ - มิติประสิทธิผล - มิติคุณภาพ - มิติประสิทธิภาพ - มิติพัฒนาองค์กร 5.2 อธิบายถึงกระบวนการที่สำคัญที่ทำให้ผลลัพธ์ดีขึ้น หรือไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด 6. ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข - อธิบายถึงปัญหาที่ส่งผลให้การดำเนินงาน ODOP

  28. การนำเสนอผลงาน รพ.สต.คุณภาพ 7. บทเรียนที่ได้รับ คืออะไร - อธิบายถึงองค์ประกอบหลักที่ทำให้ประสบความสำเร็จ Success Story 8.Storytelling - กรณีศึกษา Case Study

  29. การติดตามตรวจเยี่ยมผลการดำเนินงาน รพ.สต. คุณภาพ (100 คะแนน) การติดตามตรวจเยี่ยมใน 4 ประเด็นหลัก เพื่อพิจารณาผลลัพธ์จากกระบวนการที่ได้นำเสนอในวันที่ 29-30 กรกฎาคม 2556 ในรูปแบบเอกสารและผู้เกี่ยวข้องให้ข้อมูลเพิ่มเติมดังนี้ 1. ลักษณะการทำงาน 2. Best Practice หรือ R2R 3. การเพิ่มพูนทักษะ 4. การมีส่วนร่วมของชุมชน

  30. ประเด็นตรวจเยี่ยมผลการดำเนินงาน รพ.สต. คุณภาพ 1. ลักษณะการทำงาน ดังนี้ - Core Value ของ เครือข่ายปฐมภูมิ - ขนาดของชุมชนและกลุ่มเป้าหมายของ รพ.สต. และ ทรัพยากร - การออกแบบระบบบริการที่เชื่อมโยงระหว่าง Context, Core Value, ศักยภาพในการสนับสนุน ของ รพ. หรือ CUP ใน 2 ประเด็น คือ Self care และ Accessibility to essential Care - การออกแบบระบบโดยมุ่งผลลัพธ์บนฐานการใช้ข้อมูลจริงของพื้นที่ (Systems design for results, based on fact and context) - การสร้างคุณค่าในตนเอง ทีมงานและผู้รับบริการ (Appreciation) 2. Best Practice หรือ R2R ต้องสอดคล้องในประเด็นต่อไปนี้ - ตอบสนอง Core Value ของ เครือข่ายปฐมภูมิ - สอดคล้อง ODOP ที่กำหนด ซึ่งแสดงให้เห็นถึงกระบวนการสร้างคุณค่าในการให้บริการ - แสดงผลลัพธ์ที่ส่งผลสำเร็จดังนี้ ลดโรค ลดตาย และ ลดภาวะแทรกซ้อน - ให้ประโยชน์สูงสุด ต่อ ประชาชนและชุมชนอย่างไร

  31. ประเด็นตรวจเยี่ยมผลการดำเนินงาน รพ.สต. คุณภาพ 3. การเพิ่มพูนทักษะ ให้พิจารณาดังนี้ - กระบวนการวิเคราะห์ส่วนขาด ต้อง สอดคล้องกับ Core Value ของ เครือข่ายปฐมภูมิ และสนับสนุนบริการหลัก ตาม ODOP - การใช้บริบทเป็นฐานในการเรียนรู้ - การใช้ประโยชน์จากการเรียนรู้ เช่น บันทึก Case conference บันทึกเรื่องเล่า Portfolio CBL - ผลลัพธ์สุดท้าย การนำบทเรียนขยายผลสู่ รพ.สต.อื่นๆ ใน อำเภอตนเอง 4. การมีส่วนร่วมของชุมชน - การสำรวจความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย - การกำหนดทิศทางของชุมชน ที่สอดคล้องตาม ODOP (ให้พิจารณา แผน SRM และ SLM ของชุมชน ว่าเชื่อมโยงหรือไม่) - มาตรการทางสังคมที่ชุมชนกำหนด คืออะไร ใช้อย่างไร และผลลัพธ์ อุปสรรคและแนวทางแก้ไข - การสนับสนุนทางวิชาการ ของ รพ.สต. ในด้านการใช้มาตรการทางสังคมเป็นอย่างไร - ผลลัพธ์จาก SLM ของชุมชน

  32. ประเด็นหลักของคณะกรรมการตรวจเยี่ยมผลการดำเนินงาน รพ.สต. คุณภาพ 1. ลักษณะการทำงาน ดังนี้ - Core Value ของ เครือข่ายปฐมภูมิ - ขนาดของชุมชนและกลุ่มเป้าหมายของ รพ.สต. และ ทรัพยากร - การออกแบบระบบบริการที่เชื่อมโยงระหว่าง Context, Core Value, ศักยภาพในการสนับสนุน ของ รพ. หรือ CUP ใน 2 ประเด็น คือ Self care และ Accessibility to essential Care - การออกแบบระบบโดยมุ่งผลลัพธ์บนฐานการใช้ข้อมูลจริงของพื้นที่ (Systems design for results, based on fact and context) - การสร้างคุณค่าในตนเอง ทีมงานและผู้รับบริการ (Appreciation) 2. Best Practice หรือ R2R ต้องสอดคล้องในประเด็นต่อไปนี้ - ตอบสนอง Core Value ของ เครือข่ายปฐมภูมิ - สอดคล้อง ODOP ที่กำหนด ซึ่งแสดงให้เห็นถึงกระบวนการสร้างคุณค่าในการให้บริการ - ให้ประโยชน์สูงสุด ต่อ ประชาชนและชุมชน - แสดงผลลัพธ์ที่ส่งผลสำเร็จดังนี้ ลดโรค ลดตาย และ ลดภาวะแทรกซ้อน

  33. ประเด็นหลักของคณะกรรมการตรวจเยี่ยมผลการดำเนินงาน รพ.สต. คุณภาพ 3. การเพิ่มพูนทักษะ ให้พิจารณาดังนี้ - กระบวนการวิเคราะห์ส่วนขาดมีความสอดคล้องกับ Core Value ของ เครือข่ายปฐมภูมิ และสนับสนุนบริการหลัก ตาม ODOP - การใช้บริบทเป็นฐานในการเรียนรู้ - การใช้ประโยชน์จากการเรียนรู้ เช่น บันทึก Case conference บันทึกเรื่องเล่า Portfolio CBL - ผลลัพธ์สุดท้าย การนำบทเรียนขยายผลสู่ รพ.สต.อื่นๆ ใน อำเภอตนเอง 4. การมีส่วนร่วมของชุมชน - การสำรวจความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย - การกำหนดทิศทางของชุมชน ที่สอดคล้องตาม ODOP (ให้พิจารณา แผน SRM และ SLM ของชุมชน ว่าเชื่อมโยงหรือไม่) - มาตรการทางสังคมที่ชุมชนกำหนด คืออะไร ใช้อย่างไร และผลลัพธ์ อุปสรรคและแนวทางแก้ไข - การสนับสนุนทางวิชาการ ของ รพ.สต. ในด้านการใช้มาตรการทางสังคมเป็นอย่างไร - ผลลัพธ์จาก SLM ของชุมชน

  34. ส่วนประกอบของรายงาน ปกหน้า ใช้กระดาษเปล่าสีขาวเท่านั้น A4 ความหนาประมาณ 180 แกรม จัดทำโดยไม่ต้องพิมพ์สัญลักษณ์หรือลวดลายใดๆ แสดงรายละเอียดความเป็นเจ้าของ ปกใน ใช้กระดาษ A4 ความหนาประมาณ 80 แกรม สารบัญ ควรระบุหัวเรื่องให้ชัดเจน อธิบายโครงร่างองค์กร (Organization Profile) ความยาวไม่เกิน 10 หน้า อธิบายวิธีการและผลงาน ตามเกณฑ์คุณภาพ (ที่อธิบายข้างต้น ความยาวไม่เกิน 60 หน้า ภาคผนวก เอกสารประกอบการนำเสนอ ปกหลัง ใช้กระดาษเปล่าสีขาวเท่านั้น A4 ความหนาประมาณ 180 แกรม

  35. การตรวจประเมิน รพ.สต.คุณภาพ บริบทพื้นที่ Profile แนวทางและกลยุทธ์ที่นำมาใช้ในการดำเนินการ ส่ง 22 กค. 56 ประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดบริการ ขั้นตอนสำคัญในการดำเนินงาน ODOP ผลลัพธ์ ปัญหา และแนวทางแก้ไขการดำเนินการ Success Story/Case Study 29-30 กค. 56 Presentation Process Presentation การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ลักษณะการทำงาน ตรวจเยี่ยมและ ประเมิน รพ.สต. เป้าหมาย BestPractice หรือ R2R สค. 56 การเพิ่มพูนทักษะ การมีส่วนร่วมของชุมชน โอกาสการพัฒนาและการขยายผล

  36. การตรวจประเมินคุณภาพ PCA ขั้น 3 สำหรับ รพ.สต.ไม่ได้ร่วมโครงการ รพ.สต.คุณภาพนำร่อง หมวด P ที่ได้ทบทวนแล้วตามมติการประชุมคณะกรรมการ DHS อำเภอ Profile 5 สค. 56 แนวทางการดำเนินงาน 1-6 ผลลัพธ์หมวด 7 KM การดูแลผู้ป่วย DM/HT การดูแลผู้สูงอายุ การเยี่ยมบ้าน กระบวนการเพิ่มพูนทักษะ CBL 15-16 สค. 56 คณะกรรมการ DHS ประเมิน ส่งผลการประเมิน สสจ. 20 สค. 56 แผนพัฒนาและปรับปรุง

  37. ข้อตกลงในการนำเสนอ

More Related