1 / 16

1 เมษายน 2548 ครบรอบ 113 ปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

1 เมษายน 2548 ครบรอบ 113 ปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. สัดส่วนญี่ปุ่นนำเข้าสินค้าเกษตร ปี 2546. 1. สัดส่วนไทยส่งออกสินค้าเกษตร ปี 2546. 1. ญี่ปุ่น 18%. อื่นๆ 34%. 2 . สหรัฐอเมริกา 17%. 3. จีน 8%. 5 . ฮ่องกง 4%. 4 . มาเลเซีย 6%. 2.

gaille
Download Presentation

1 เมษายน 2548 ครบรอบ 113 ปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 1 เมษายน 2548 ครบรอบ 113 ปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

  2. สัดส่วนญี่ปุ่นนำเข้าสินค้าเกษตร ปี 2546 1

  3. สัดส่วนไทยส่งออกสินค้าเกษตร ปี 2546 1. ญี่ปุ่น 18% อื่นๆ 34% 2. สหรัฐอเมริกา 17% 3. จีน 8% 5. ฮ่องกง 4% 4. มาเลเซีย 6% 2

  4. การค้าสินค้าเกษตร ไทยและญี่ปุ่น หน่วย: ล้านบาท 3

  5. JTEPA Tariff Rules of Origin Cooperation SPS Local to Local 4

  6. กลุ่มยกเลิกภาษี 5

  7. กลุ่มลดภาษีไม่เป็นศูนย์/เป็นศูนย์ภายใน 5-10 ปี 6

  8. กลุ่มที่มีโควตา 7

  9. กลุ่มที่ต้องนำกลับมาเจรจาใหม่กลุ่มที่ต้องนำกลับมาเจรจาใหม่ 8

  10. Rules of Origin (ROO) สินค้าเกษตร (ตอนที่ 01-24) 727 รายการ - 498 รายการ (มูลค่า 51,000 ล้านบาท) เข้าตลาดได้ - 229 รายการ (มูลค่า 42,000 ล้านบาท) ติดล็อค ROO สินค้าที่ติดล็อค: เนื้อสัตว์แปรรูป ผลิตภัณฑ์อาหารทะเล ผัก/ผลไม้กระป๋อง อาหารสุนัขและแมว อาหารปรุงแต่ง ขนมปังกรอบ ผงโกโก้ น้ำหวาน น้ำอัดลม ไวน์ผลไม้ 9

  11. อุปสรรคส่งออกสินค้าเกษตรอุปสรรคส่งออกสินค้าเกษตร ด้านมิใช่ภาษี (NTBs) คุณภาพ (สารตกค้าง โรค แมลง) การวิเคราะห์ความเสี่ยง (PRA) ใช้เวลานาน ROO กำหนดเงื่อนไขไม่เอื้อต่อสินค้าไทย 10

  12. ความร่วมมือด้าน SPS ตั้งคณะทำงาน เพื่อแก้ไขปัญหา SPSมีภาคเอกชนร่วมด้วย สนับสนุนความสามารถด้าน SPS คณะทำงานจะประชุมทุกปี ให้ความสำคัญต่อคำเรียกร้องของไทย 11

  13. Local-to-Local ตั้งคณะทำงานเชื่อมโยง Local-to-Local ร่วมพัฒนาสินค้าเกษตรให้มีคุณภาพ สอดคล้องตลาด ร่วมพัฒนาโครงการ OTOP พัฒนาบุคลากรด้านสหกรณ์ ส่งเสริมธุรกิจซื้อขายระหว่างสหกรณ์ 12

  14. การเตรียมตัวของภาคเอกชนการเตรียมตัวของภาคเอกชน  เน้นคุณภาพสินค้าเกษตร เน้นสินค้าที่ไทยมีศักยภาพในการส่งออก เช่น อาหารทะเล ผัก ผลไม้สด ไก่ต้มสุก ปรับภาพลักษณ์บรรจุภัณฑ์ ใช้เทคโนโลยีในการยืดอายุสินค้าเกษตรหลังเก็บเกี่ยว 13

  15. JTEPA ไทยได้อะไร สินค้าเกษตรไทยมีส่วนแบ่งตลาดในญี่ปุ่นมากขึ้น เพราะต้นทุนนำเข้าถูกลง มีกลไกถาวรในการแก้ปัญหา NTBs: SPS ซึ่งไทยจะได้รับการตอบสนองเร็วขึ้น มีการลงทุนร่วมในการผลิตสินค้าเกษตร 14

  16. 1 เมษายน 2548 ครบรอบ 113 ปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

More Related