1 / 41

ระเบียบการเก็บรักษาเงิน และการนำเงินส่งคลังของส่วนราชการ พ.ศ. 2520 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

ระเบียบการเก็บรักษาเงิน และการนำเงินส่งคลังของส่วนราชการ พ.ศ. 2520 และที่แก้ไขเพิ่มเติม. ประเด็นสำคัญ. 1. การรับเงิน 2. การจ่ายเงิน 3. การเก็บรักษาเงิน 4. การนำเงินส่งคลัง. ใบเสร็จรับเงิน. 1. ใช้ตามแบบ กค หรือที่ได้รับความตกลง 2. จัดทำทะเบียนคุม 3. ใช้เฉพาะภายในปีงบประมาณ

gail-huber
Download Presentation

ระเบียบการเก็บรักษาเงิน และการนำเงินส่งคลังของส่วนราชการ พ.ศ. 2520 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระเบียบการเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลังของส่วนราชการพ.ศ. 2520 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

  2. ประเด็นสำคัญ 1. การรับเงิน 2. การจ่ายเงิน 3. การเก็บรักษาเงิน 4. การนำเงินส่งคลัง

  3. ใบเสร็จรับเงิน 1. ใช้ตามแบบ กค หรือที่ได้รับความตกลง 2. จัดทำทะเบียนคุม 3. ใช้เฉพาะภายในปีงบประมาณ 4. รายงานภายในวันที่ 31 ตุลาคมของ ปีงบประมาณถัดไป 5. เก็บรักษาไว้ในที่ปลอดภัย

  4. ครุฑ เลขที่ ............... เล่มที่ ............... ใบเสร็จรับเงิน ในราชการกรม................................... ที่ทำการ............................................ วันที่...........เดือน......................พ.ศ. .............. ได้รับเงินจาก.................................................................................................................. เป็นค่า............................................................................................................................ จำนวน.......................บาท ................สตางค์ (ตัวอักษร..............................................) ไว้เป็นการถูกต้องแล้ว (ลงชื่อ).............................................ผู้รับเงิน (ตำแหน่ง)........................................

  5. เงินที่รับ 1. เงินสด 2. เช็ค 3. ดราฟท์ 4. ตั๋วแลกเงิน

  6. เช็คที่รับ • เช็คธนาคารแห่งประเทศไทย (เช็คประเภท ก.) • เช็คที่ธนาคารค้ำประกัน (เช็คประเภท ข.) • เช็คที่ธนาคารเซ็นสั่งจ่าย (เช็คประเภท ค.) • เช็คที่ผู้มีหน้าที่ชำระเงินผลประโยชน์เป็น ผู้เซ็นสั่งจ่ายและใช้ชำระโดยตรง (เช็คประเภท ง.)

  7. การรับเงิน 1. ออกใบเสร็จรับเงินทุกครั้ง 2. โดยปกติใช้เล่มเดียว 3. บันทึกการรับเงินภายในวันที่รับเงิน 4. ต้องมีการตรวจสอบ

  8. กรณีใบเสร็จรับเงินที่ยังมิได้ใช้สูญหายกรณีใบเสร็จรับเงินที่ยังมิได้ใช้สูญหาย 1. แจ้งความนับแต่ทราบว่าหาย 2. ติดประกาศยกเลิกไว้ในที่พบเห็นและ ตรวจสอบได้ง่าย 3. ทำหนังสือแจ้งเวียนการยกเลิกให้ ส่วนราชการต่าง ๆ ทราบ

  9. หลักฐานการจ่าย หมายความถึง หลักฐานซึ่งแสดงว่าได้มีการจ่ายเงินให้แก่เจ้าหนี้หรือผู้รับตามข้อผูกพันแล้ว - ใบเสร็จรับเงิน (ใบสำคัญคู่จ่าย) - ใบสำคัญรับเงิน - ใบรับรองการจ่ายเงิน - แบบคำขอเบิกที่มีช่องรับเงิน - กค กำหนด

  10. ใบเสร็จรับเงิน ซึ่งเป็นหลักฐานการจ่าย อย่างน้อยต้องมีสาระสำคัญ ดังนี้ 1. ชื่อ สถานที่อยู่ หรือที่ทำการของผู้รับเงิน 2. วัน เดือน ปี ที่รับเงิน 3. รายการแสดงการรับเงินระบุว่าเป็นค่าอะไร 4. จำนวนเงินทั้งตัวเลขและอักษร 5. ลายมือชื่อของผู้รับเงิน

  11. ใบเสร็จรับเงิน ที่ทำการ วันที่ เป็นค่า จำนวนเงิน บาท สตางค์ () (ลงชื่อ) ผู้รับเงิน

  12. บิลเงินสด บริษัท วันที่ เป็นค่า จำนวนเงิน บาทสตางค์ () (ลงชื่อ) ผู้ขาย

  13. ที่ ................................... (ส่วนราชการเป็นผู้ให้) ใบสำคัญรับเงิน วันที่ ...... เดือน ................... พ.ศ............ ข้าพเจ้า ........................... ...................................อยู่บ้านเลขที่ ..................... ตำบล .................................. อำเภอ ................................ จังหวัด .................................. ได้รับเงินจากแผนกการ .....................................................จังหวัด ................................. ดังรายการต่อไปนี้ ลงชื่อ .....................................................

  14. กรณีใบสำคัญคู่จ่ายเงินสูญหายกรณีใบสำคัญคู่จ่ายเงินสูญหาย 1. ถ้าเป็นใบเสร็จรับเงินสูญหาย ให้ใช้สำเนาใบเสร็จรับเงินซึ่งผู้รับเงินรับรองแทนได้ 2. ถ้าใบสำคัญรับเงินสูญหาย หรือไม่อาจขอสำเนาใบเสร็จรับเงินตาม 1. ได้ ให้ ผู้จ่ายเงิน ทำใบรับรองการจ่ายเงิน

  15. ใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงินใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน ส่วนราชการ ............................................. รวมทั้งสิ้น (ตัวอักษร ) ......................................................................................................... ข้าพเจ้า ........................................... ตำแหน่ง ................................................... กอง ........................... ขอรับรองว่ารายจ่ายข้างต้นนี้ไม่อาจเรียกใบเสร็จรับเงินจากผู้รับได้ และข้าพเจ้าได้จ่ายไปในนามของราชการโดยแท้ (ลงชื่อ)........................…………....... วันที่ ........................................

  16. ใบรับรองการจ่ายเงิน 1. การจ่ายเงินในต่างประเทศ ซึ่งกฎหมาย หรือประเพณีนิยมของประเทศนั้น ๆ ไม่ต้องออกใบเสร็จรับเงินหรือออกให้แต่ไม่เป็นตามที่กำหนด 2. กรณีซึ่งตามลักษณะไม่อาจเรียกใบเสร็จรับเงินได้ 3. ค่าไปรษณียากร 4. จ่ายเงินรายหนึ่ง ๆ ไม่ถึง 10 บาท 5. ค่ารถ หรือเรือนั่งรับจ้าง

  17. ใบรับรองการจ่ายเงิน (ต่อ) 6. ค่าโดยสารรถไฟ รถยนต์ / เรือยนต์ประจำทาง 7. ใบสำคัญรับเงินสูญหาย 8. ใบเสร็จรับเงินสูญหายและไม่อาจขอสำเนาได้ 9. ใบเสร็จรับเงินมีไม่ครบ 5 รายการ 10.ใบเสร็จรับเงินค่าธรรมเนียมต่าง ๆ สูญหาย

  18. ใบเบิกเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลโปรดทำเครื่องหมาย / ลงในช่องว่าง พร้อมทั้งกรอกข้อความเท่าที่จำเป็น 1. ข้าพเจ้า.......................................ตำแหน่ง..............................สังกัด........................... 2. ขอเบิกเงินค่ารักษาพยาบาลของ ข้าพเจ้า บิดา ชื่อ.................................................. คู่สมรส ชื่อ............................................. มารดา ชื่อ................................................................. บุตร ชื่อ.....................................เกิดเมื่อ...........เป็นบุตรลำดับที่(ของบิดา)...................... เป็นบุตรลำดับที่(ของมารดา)................... ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 3. ข้าพเจ้ามีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล ตามพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล ตามสิทธิ เฉพาะส่วนที่ยังขาดจากสิทธิ เป็นเงิน...................................................บาท (....................................................................) และ ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ข้าพเจ้าขอรับรองว่า ข้อความข้างต้นเป็นจริงทุกประการ (ลงชื่อ).............................................ผู้ขอรับเงินสวัสดิการ วันที่....................เดือน.........................พ.ศ......................

  19. แบบที่ กค กำหนด

  20. การจ่ายเงิน 1. มีกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ คำสั่ง มติค.ร.ม. หรือได้รับอนุญาตจากกระทรวงการคลัง 2. เป็นรายจ่ายในการดำเนินงานตามปกติ 3. ผู้มีอำนาจได้อนุมัติ 4. มีหลักฐานการจ่าย 5. ห้ามเรียกใบเสร็จหรือให้ผู้รับเงินลงชื่อรับเงิน โดยยังมิได้จ่ายเงิน

  21. การจ่ายเงิน (ต่อ) 6. ไม่มารับเงินให้ทำใบมอบฉันทะ / มอบอำนาจ 7. การโอนสิทธิเรียกร้องได้ปฏิบัติตาม กค 8. บันทึกการจ่ายเงินในวันที่จ่าย 9. สิ้นวันตรวจสอบ

  22. วิธีปฏิบัติในการจ่ายเงินวิธีปฏิบัติในการจ่ายเงิน 1. จ่ายเช็ค 2. จ่ายเงินสดเฉพาะ • การจ่ายเงินจากเงินทดรองราชการซึ่ง เก็บรักษาเป็นเงินสด (2) การจ่ายให้ข้าราชการ ลูกจ้าง ผู้รับบำนาญ ผู้รับเบี้ยหวัด (3) การจ่ายเงินที่มีวงเงินต่ำกว่า 2,000 บาท

  23. การเขียนเช็ค 1. ซื้อ / เช่า / จ้าง • สั่งจ่ายในนามเจ้าหนี้ • ขีดฆ่าคำว่า “หรือตามคำสั่ง” หรือ “หรือผู้ถือ” ออก • ขีดคร่อมเช็ค

  24. การเขียนเช็ค (ต่อ) 2. นอกจาก 1. • สั่งจ่ายในนามเจ้าหนี้ • ขีดฆ่าคำว่า “หรือตามคำสั่ง” หรือ “หรือผู้ถือ” ออก • ขีดคร่อมหรือไม่ก็ได้

  25. วิธีปฏิบัติในการจ่ายเงินวิธีปฏิบัติในการจ่ายเงิน (ต่อ) 3. รับเงินสดมาจ่าย • สั่งจ่ายในนามเจ้าหน้าที่ของส่วนราชการ • ขีดฆ่าคำว่า “หรือตามคำสั่ง” หรือ “หรือผู้ถือ” ออก • ห้ามออกเช็คสั่งจ่ายเงินสด

  26. วิธีปฏิบัติในการจ่ายเงินวิธีปฏิบัติในการจ่ายเงิน (ต่อ) 3. จ่ายผ่านธนาคาร - ให้ข้าราชการ ลูกจ้าง (ว 7930) - ให้บุคคลภายนอก (ว 143)

  27. หลักเกณฑ์การจ่ายในระบบ GFMIS 1. จ่ายเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของเจ้าหนี้ของส่วนราชการโดยตรง 2. จ่ายเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของ ส่วนราชการ - กค 0409.3/ว 115 ลว. 30 กันยายน 2547

  28. การจ่ายตรงเจ้าหนี้ หลักเกณฑ์ 1. มีใบสั่งซื้อ / จ้าง หรือสัญญา วงเงินตั้งแต่ 5,000 บาทขึ้นไป 2. ไม่มีใบสั่งซื้อ / จ้าง /สัญญา หรือมีใบสั่งซื้อ / จ้าง หรือสัญญา แต่วงเงินไม่ถึง 5,000 บาท

  29. วิธีปฏิบัติของส่วนราชการวิธีปฏิบัติของส่วนราชการ 1. แจ้งเงื่อนไขการจ่ายเงินให้คู่สัญญาทราบ - ภาระค่าธรรมเนียมธนาคารในการรับเงิน - หากมีการโอนสิทธิเรียกร้อง ให้แจ้ง ล่วงหน้า 2. ดำเนินการตามระเบียบพัสดุฯ

  30. วิธีปฏิบัติของส่วนราชการวิธีปฏิบัติของส่วนราชการ (ต่อ) 3. สร้างใบสั่งซื้อ / จ้าง / เช่า ในระบบ PO เฉพาะกรณี มีใบสั่งซื้อสั่งจ้างหรือสัญญา ที่มีวงเงินตั้งแต่ 5,000 บาทขึ้นไป 4. จัดทำข้อมูลเจ้าหนี้เข้าระบบ (ข้อมูลหลักผู้ขาย) 5. ส่งคำขอเบิกเงินที่ตรวจสอบถูกต้องแล้วมายัง กรมบัญชีกลาง / สำนักงานคลัง 6. เรียกรายงานการจ่ายเงินและติดตามใบเสร็จรับเงิน

  31. การจ่ายให้ส่วนราชการ หลักเกณฑ์ 1. ไม่มีใบสั่งซื้อ / จ้าง หรือสัญญา หรือ 2. มีใบสั่งซื้อ / จ้าง หรือสัญญา แต่วงเงินไม่ถึง 5,000 บาท

  32. วิธีปฏิบัติของส่วนราชการวิธีปฏิบัติของส่วนราชการ 1. จัดทำข้อมูลของส่วนราชการเข้าระบบ (ข้อมูลหลัก ผู้ขาย) 2. ดำเนินการตามระเบียบพัสดุฯ 3. ไม่ต้องสร้างใบสั่งซื้อ / จ้าง / เช่า ในระบบ PO 4. ส่งคำขอเบิกเงินที่ตรวจสอบถูกต้องแล้วมายัง กรมบัญชีกลาง / สำนักงานคลัง 5. จ่ายเงินและบันทึกการจ่ายเงินในระบบ

  33. การเก็บรักษาเงินของส่วนราชการการเก็บรักษาเงินของส่วนราชการ 1. ตู้นิรภัย 2. กรรมการ 3. วิธีการเก็บรักษาเงิน

  34. ตู้นิรภัย 1. กำปั่น หรือตู้เหล็ก หรือหีบเหล็กอันมั่นคง 2. ปกติต้องมีลูกกุญแจอย่างน้อย 2 ดอก แต่ละดอก มีลักษณะต่างกัน 3. ลูกกุญแจตู้นิรภัยหนึ่งๆ อย่างน้อยต้องมี 2 สำรับ มอบให้กรรมการถือกุญแจ 1 สำรับ ฝากเก็บใน ลักษณะหีบห่อ - ส่วนกลาง สำนักบริหารเงินตรา กรมธนารักษ์ - ส่วนภูมิภาค ณ สำนักงานคลังจังหวัด 4. ตั้งไว้ในที่ปลอดภัยในสำนักงาน

  35. กรรมการ • แต่งตั้งข้าราชการระดับ 2 / เทียบเท่าขึ้นอย่างน้อย 3 คน • กรณีมีเงินเก็บในวันหนึ่ง ๆ ไม่เกิน 10,000 บาท แต่งตั้ง 2 คน ก็ได้ • ถ้าข้าราชการระดับ 2 มีไม่ครบ ให้แต่งตั้งข้าราชการระดับ 1 ก็ได้ • กรณีกรรมการไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ - แต่งตั้งกรรมการชั่วคราว - มอบกุญแจ ตรวจนับตัวเงินและหลักฐานแทนตัวเงินให้ถูกต้องตามรายงานฯ เมื่อกุญแจหาย หรือสงสัยว่าจะมีการปลอมแปลงให้รีบรายงานหัวหน้าส่วนราชการเพื่อสั่งการโดยด่วน

  36. หัวหน้า ส่วนราชการ เจ้าหน้าที่การเงิน กรรมการ รายงานฯ รายงานฯ เงิน เงิน ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง -ร่วมกับ จนท. การเงินบันทึกเงิน ที่ตรวจนับได้ -ลงลายมือชื่อ ร่วมกับจนท. การเงินในรายงานฯ -นำเงินเข้าตู้ -นำเงินเข้าตู้ -ลงลายมือชื่อ ในรายงานฯ รายงานฯ รายงานฯ รายงานฯ รายงานฯ รายงานฯ * รายงานฯ = รายงานเงินคงเหลือประจำวัน

  37. กำหนดเวลานำเงินส่งหรือนำฝากคลังของส่วนราชการผู้เบิกกำหนดเวลานำเงินส่งหรือนำฝากคลังของส่วนราชการผู้เบิก 1. เช็ค • วันที่ได้รับ หรืออย่างช้าภายในวันทำการถัดไป 2. เงินรายได้แผ่นดิน - เกินหมื่นบาทนำส่งโดยด่วนไม่เกิน 3 วันทำการ

  38. กำหนดเวลานำเงินส่งหรือฝากคลังของส่วนราชการผู้เบิกกำหนดเวลานำเงินส่งหรือฝากคลังของส่วนราชการผู้เบิก (ต่อ) 3. เงินเบิกเกินส่งคืนหรือเงินเหลือจ่ายปีเก่าส่งคืน - ภายใน 15 วันทำการ นับจากวันได้รับเงินจากคลัง หรือได้รับเงินคืน 4. เงินนอกงบประมาณ - อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง 5. เงินนอกงบประมาณเบิกจากคลังเพื่อรอการจ่าย - ภายใน 15 วัน นับจากวันรับเงินจากคลัง

  39. วิธีปฏิบัติของส่วนราชการวิธีปฏิบัติของส่วนราชการ 1. นำฝากเงินเข้าบัญชีกรมบัญชีกลาง/ สำนักงานคลังที่ธนาคารกรุงไทยฯ 2. บันทึกข้อมูลเข้าระบบ GFMIS พร้อมระบุ เลขอ้างอิงที่ได้จากธนาคาร 3. ตรวจสอบ 4. ส่งข้อมูลให้กรมบัญชีกลาง / สำนักงานคลัง

  40. สำนักมาตรฐานด้านกฎหมายและระเบียบการคลัง กรมบัญชีกลางโทร. 0-2273-9549

More Related