1 / 23

Reliability Engineering

Reliability Engineering. วิศวกรรมความเชื่อถือได้. เมื่อวัตถุดิบที่รับมามีคุณภาพเป็นที่น่าพอใจ แต่เมื่อนำมาประกอบกันเป็นสินค้าแล้ว จะทราบได้อย่างไรว่าความน่าเชื่อถือเป็นเท่าใด. ความน่าเชื่อถือคืออะไร

gage-macias
Download Presentation

Reliability Engineering

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Reliability Engineering วิศวกรรมความเชื่อถือได้

  2. เมื่อวัตถุดิบที่รับมามีคุณภาพเป็นที่น่าพอใจเมื่อวัตถุดิบที่รับมามีคุณภาพเป็นที่น่าพอใจ แต่เมื่อนำมาประกอบกันเป็นสินค้าแล้ว จะทราบได้อย่างไรว่าความน่าเชื่อถือเป็นเท่าใด

  3. ความน่าเชื่อถือคืออะไรความน่าเชื่อถือคืออะไร ความน่าเชื่อถือได้ของสินค้าคือ ความสามารถในการที่สินค้านั้นยังคงความสามารถทำงานได้ภายใต้เงื่อนไขที่กำหนด ภายในช่วงเวลาที่กำหนด ความน่าเชื่อถือได้ของชิ้นส่วนใดๆ คือ ความน่าจะเป็นที่ชิ้นส่วนนั้นๆยังสามารถทำงานได้จนถึงช่วงเวลาที่กำหนดภายใต้สภาพการทำงานที่กำหนด

  4. ถ้าชิ้นส่วนเหล่านั้นมีชิ้นใดชิ้นหนึ่งเสีย จะส่งผลให้สินค้านั้นเป็นของเสียไปด้วย สมมุติมีชิ้นส่วน 3 ชิ้นแต่ละชิ้นมีความน่าเชื่อถือ 0.98 แล้วสินค้าชิ้นนี้จะมีความน่าเชื่อถือเท่าใด

  5. R1 R2 R3 R4 ระบบอนุกรม แล้วความน่าเชื่อถือของผลิตภัณฑ์นี้จะเป็นเท่าใด R1 = 0.98 R2 = 0.97 R3 = 0.95 R4 = 0.99 ความน่าจะเป็นต่อเนื่องกัน คูณกัน Rs = R1 x R2 x R3 x R4 = 0.98 x 0.97 x 0.95 x 0.99 = 0.894

  6. ถ้าสินค้ามีชิ้นส่วน 1000 ชิ้น และต้องการความน่าเชื่อถือ 0.99 ชิ้นส่วนแต่ละชิ้นจะต้องมีความเชื่อถือได้เท่าใด จาก Rs = Rin ; i = 1, 2, ……, n 0.99 = Ri1000 ln 0.99 = 1000 ln Ri Ri = 0.99998995 แปลว่าชิ้นส่วนแต่ละชิ้นต้องถูกออกแบบมาให้มีความเชื่อถือได้ เท่ากับ 0.99998995

  7. R1 R2 แต่ถ้าหากสินค้านั้น ถูกออกแบบมาให้มีระบบสำรอง หรือ อุปกรณ์สำรอง เช่นระบบเชื้อเพลิงในรถยนต์ ที่สามารถใช้ได้ทั้ง น้ำมันเบนซิน และ แก๊สธรรมชาติ ความเชื่อถือได้ของสินค้าจะสามารถคำนวณได้อย่างไร ระบบขนาน

  8. ให้ Fi = ความน่าจะเป็นที่ชิ้นส่วนจะขัดข้อง Fi = 1 - Ri

  9. 0.65 0.65 0.65 ถ้าสินค้ามีชิ้นส่วนอยู่ 3 ชิ้นต่ออย่างขนานสินค้าจะมีความน่าเชื่อถือเท่าใด Rp = 1 - (1 – 0.65)3 = 1 – 0.353 = 0.957125

  10. A C C D D B A A ถ้า RA = 0.72, RB = 0.96, RC = 0.87, RD = 0.91 จงหาความน่าเชื่อถือเมื่อ RT = 0.898

  11. ความเชื่อถือได้กับเวลาใช้งานความเชื่อถือได้กับเวลาใช้งาน ถ้าให้ f(t) เป็น ฟังค์ชั่นการแจกแจงความน่าจะเป็นที่ชิ้นส่วนจะขัดข้อง

  12. f(t) มีการแจกแจงแบบ exp เมื่อกำหนดให้อัตราการขัดข้องมีค่าคงที่ เวลาเฉลี่ยในการขัดข้อง เรียกว่า MTBF (Mean Time Between Failure) มีค่าเท่ากับ 1/

  13. ถ้าชิ้นส่วนชนิดหนึ่งมีอัตราขัดข้อง 0.06 ครั้งต่อ 1000 ชั่วโมง ความน่าจะเป็นที่ชิ้นส่วนนี้จะใช้งานได้จนถึง 8000 ชั่วโมง  = 0.06 MTBF = 1000/0.06

  14. ถ้ามีชิ้นส่วน n ชิ้นที่ประกอบกันเป็นสินค้า ซึ่งแต่ละชิ้นมีผลกระทบต่อสินค้า และชิ้นส่วนแต่ละชิ้นมีอัตราขัดข้องเป็น 1, 2, ….., nสินค้านี้จะมีความเชื่อถือได้คือ ระบบอนุกรม

  15. ระบบอนุกรมหนึ่ง ประกอบด้วยชิ้นส่วน 4 ชิ้นที่มีอัตราขัดข้องต่อ 1000 ชั่วโมงเป็น 0.051, 0.058, 0.043, และ 0.048 ดังนั้นความน่าจะเป็รที่ระบบจะทำงานได้จนถึง 4000 ชั่วมงคือ Rs(4) = e-(0.051+0.058+0.043+0.048)(4) = e-(0.02)(4) = 0.449 MTBF = (1/1+ 1/2+ 1/3+ 1/4) MTBF = 1 / 0.02 = 5 MTBF = 5000 ชั่วโมง นั่นเอง

  16. ถ้าเป็นระบบขนาน จะสามารถคำนวณความเชื่อถือได้ในช่วงเวลา ทำนองเดียวกับความเชื่อถือได้ในชิ้นส่วน

  17. ถ้าชิ้นส่วนแต่ละชิ้นมีอัตราขัดข้องเท่ากันหมดคือ 0.05 ตรารางต่อไปนี้จะแสดงค่า ความเชื่อถือได้ของระบบ และ MTBF

  18. A C C D D B A A จาก RA = 0.72, RB = 0.96, RC = 0.87, RD = 0.91 กำหนด t = 100 ชั่วโมง ให้คำนวณหาค่า R(t) = e-t เช่น 0.96 = e-100 แก้สมการ  = 4.08 x 10-4 แสดงว่า อัตราขัดข้อง คือ 4.08 ครั้ง ต่อ 10,000 ชั่วโมง

  19. A = 3.28 x 10-3 CD = 23.36 x 10-4 CDp = 16.91 x 10-4 SYS = 38.88 x 10-4 MTBF = 10000 / 38.88 = 257.2 ชั่วโมง

  20. ถ้าสินค้าที่มีการจัดส่งสินค้านั้นมีการระบุว่าต้องมีอายุการใช้งานไม่น้อยกว่า 10000 ชั่วโมงนั้น เมื่อสินค้ามีการส่งมอบแล้ว ทางผู้ที่ตรวจรับสินค้าจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการตรวจสอบว่าสินค้านั้นเป็นไปตามข้อกำหนดหรือไม่ การตรวจสอบนั้นสามารถทำได้โดยการสุ่มตัวอย่างจำนวน n ชิ้นแล้วทำการทดสอบตัวอย่างบนสมมุติฐานแบบ Exponential หรือ อาศัยการเปิดตารางจากคู่มือ H108

  21. ส่วนประกอบของตาราง H 108 • ตารางแม่บทสำหรับการทดสอบอายุที่ยกเลิกเมื่อจำนวนขัดข้องเท่ากับค่าที่กำหนด • ตารางทดสอบอายุสำหรับจำนวนที่ขัดข้องที่กำหนดไว้ก่อนภายใต้ , , 1 / 0 • ตารางแม่บทสำหรับทดสอบอายุที่ยกเลิกเมื่อถึงเวลาที่กำหนด(เมื่อไม่มีการทดแทนชิ้นที่ขัดข้อง) • ตารางแม่บทสำหรับทดสอบอายุที่ยกเลิกเมื่อถึงเวลาที่กำหนด(เมื่อมีการทดแทนชิ้นที่ขัดข้อง)

  22. ส่วนประกอบของตาราง H 108(ต่อ) • ตารางทดสอบอายุสำหรับเวลาที่กำหนดไว้ก่อนภายใต้ , , 1 / 0 (ไม่มีการทดแทน) • ตารางทดสอบอายุสำหรับเวลาที่กำหนดไว้ก่อนภายใต้ , , 1 / 0 (มีการทดแทน) • ตารางทดสอบอายุแผนชักตัวอย่างเพื่อการยอมรับภายใต้ , , 1 / 0 (ไม่มีการทดแทน)

  23. การบ้าน ให้หาตารางสำหรับคู่มือ H108 ทั้ง 7 ตาราง พร้อมอธิบายวิธีการใช้ และตอบปัญหา 1. ต้องการหาแผนทดสอบที่จะให้ค่าความเสี่ยงของผู้ผลิต = 0.10 และอายุเฉลี่ยที่ยอมรับ 0 = 2000 ชั่วโมง และจะยกเลิกเมื่อมีชิ้นที่ขัดข้อง 5 ชิ้น 2. อธิบายแผนในการทดสอบข้อที่ 1

More Related