1 / 71

คนไทยกับการใช้พลังงาน

คนไทยกับการใช้พลังงาน. โดย นายบรรพต ดิสกุล กลุ่มกำกับการอนุรักษ์พลังงาน 1. คนไทยกับการใช้พลังงาน. ประเทศไทยเป็นประเทศที่ ผลิตพลังงานไม่เพียงพอต่อการใช้. ภาคพลังงานของประเทศไทยปล่อยก๊าซเรือนกระจก 56 % แบ่งออกเป็น :- การผลิตไฟฟ้า 42 % ภาคขนส่ง 32% ภาคอุตสาหกรรม 23 %.

gaetana
Download Presentation

คนไทยกับการใช้พลังงาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. คนไทยกับการใช้พลังงานคนไทยกับการใช้พลังงาน โดย นายบรรพต ดิสกุล กลุ่มกำกับการอนุรักษ์พลังงาน 1

  2. คนไทยกับการใช้พลังงานคนไทยกับการใช้พลังงาน

  3. ประเทศไทยเป็นประเทศที่ประเทศไทยเป็นประเทศที่ ผลิตพลังงานไม่เพียงพอต่อการใช้

  4. ภาคพลังงานของประเทศไทยปล่อยก๊าซเรือนกระจก 56%แบ่งออกเป็น:- การผลิตไฟฟ้า 42% ภาคขนส่ง 32% ภาคอุตสาหกรรม 23 %

  5. คนไทยกับวิกฤติการณ์ด้านพลังงานคนไทยกับวิกฤติการณ์ด้านพลังงาน ความเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วของประเทศไทยส่งผลให้ประเทศ มีความต้องการใช้พลังงานสูงขึ้นเป็นจำนวนมากในทุกภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาคขนส่งและคมนาคม

  6. ปี พ.ศ. 2549 ผลิตภายในประเทศ 55,761 ktoe นำเข้าจากต่างประเทศ 58,410 ktoe (567,464 ล้านบาท) พลังงาน ... ประเทศไทยเป็น net importer !!!

  7. 2543 2544 2545 2546 2547 ปี พ.ศ 2547 ประเทศไทยมีความต้องการใช้พลังงานประมาณ เก้าแสนเจ็ดหมื่นล้านบาทหรือเท่ากับ 15,290 บาทต่อคนต่อปี คิดเป็นค่าใช้จ่ายด้านพลังงานกว่าร้อยละ 14 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ โดยมีอัตราการขยายตัวของการใช้พลังงานที่ร้อยละ 14.5 ซึ่งถือเป็นภาระค่าใช้จ่ายที่สูงมากของประเทศ

  8. การนำเข้าพลังงานของประเทศ,ล้านบาทการนำเข้าพลังงานของประเทศ,ล้านบาท 2543 2544 2547 2545 2546 2548 599,000 ความต้องการใช้พลังงานของประเทศ,ล้านบาท ความต้องการใช้พลังงานของประเทศไทย

  9. นอกจากนี้รายได้จากการส่งออกภาคนอกจากนี้รายได้จากการส่งออกภาค การเกษตรของประเทศ ก็ยังต่ำกว่ารายจ่ายการนำเข้าพลังงาน

  10. ประกอบกับการผลิตพลังงานภายในประเทศยังไม่สามารถผลิตให้เพียงพอต่อการใช้พลังงานได้ ทำให้ประเทศไทยต้องพึ่งพาการนำเข้าพลังงานจากกลุ่มประเทศผู้ผลิตน้ำมันในปริมาณแต่ละปีที่สูงมากถึงกว่าห้าแสนล้านบาท ในขณะที่ประเทศไทยสามารถส่งออกภาคการเกษตร ได้ประมาณสามแสนล้านบาทต่อปี ซึ่งเท่ากับว่าประเทศไทยต้องขายสินค้าภาคเกษตรเกือบ 2 ปี ถึงจะเทียบเท่าการนำเข้าน้ำมัน

  11. มูลค่าการนำเข้าพลังงานมูลค่าการนำเข้าพลังงาน 450 400 350 300 250 พันล้านบาท 200 150 100 50 0 2542 2543 2544 2545 2546 น้ำมันดิบ ก๊าซธรรมชาติ น้ำมันสำเร็จรูป ถ่านหิน ไฟฟ้า

  12. 4 % 5 % 4 % 16 % 71 % ก๊าซธรรมชาติ ลิกไนต์ / ถ่านหิน พลังน้ำ นำเข้าและอื่นๆ น้ำมันเตา สัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า แล้วการผลิตพลังงานไฟฟ้า ของประเทศก็ยังพึ่งพาพลังงานจากก๊าซธรรมชาติ

  13. การใช้พลังงานจำแนกตามชนิดพลังงานของประเทศปี 2549 73,465 ล้านลิตรเทียบเท่าน้ำมันดิบ ถ่านหิน 12.1% น้ำมันสำเร็จรูป พลังงานใหม่และหมุนเวียน 50.0% 17.4% ไฟฟ้า 17.2% ก๊าซธรรมชาติ 3.3%

  14. การใช้พลังงานจำแนกตามสาขาเศรษฐกิจของประเทศปี 2549 73,465 ล้านลิตรเทียบเท่าน้ำมันดิบ เหมืองแร่ 0.2% เกษตรกรรม 5.3% 36.0% ขนส่ง อุตสาหกรรมการผลิต 37.8% ธุรกิจการค้า บ้านอยู่อาศัย 6.2% 14.3% 0.2% ก่อสร้าง

  15. มูลค่าการใช้พลังงานแยกตามสาขาเศรษฐกิจปี 2549 1,374,648 ล้านบาท เหมืองแร่ 0.3% 335,145 ล้านบาท 615,246 ล้านบาท เกษตรกรรม 5.9% อุตสาหกรรมการผลิต การขนส่ง 24.3% 44.8% การก่อสร้าง บ้านอยู่อาศัย 0.3% ธุรกิจการค้า 15.5% 8.9% 213,456 ล้านบาท 122,043 ล้านบาท

  16. การใช้พลังงานในภาคอุตสาหกรรมปี 2549 27,734 ล้านลิตรเทียบเท่าน้ำมันดิบ พลังงานใหม่และหมุนเวียน 32.1% ถ่านหิน 23.3% 21.0% ไฟฟ้า น้ำมันสำเร็จรูป 15.3% ก๊าซธรรมชาติ 8.3%

  17. ผลกระทบการใช้พลังงาน • พลังงานส่วนใหญ่ของโลก (90%) เป็นพลังงาน fossil เช่น ถ่านหิน, ก๊าซธรรมชาติ, น้ำมัน (Hydrocarbon) กำลังจะหมดไป • เมื่อใช้จะเกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ • ก่อให้เกิดภาวะโลกร้อน • การเปลี่ยนแปลงของฤดูกาล ภัยธรรมชาติ ฟ้าผ่า, พายุลม, พายุฝน, สึนามิ รุนแรงขึ้น • พื้นที่เพาะปลูกน้อยลง • พื้นที่ป่าน้อยลง … O2น้อยลง

  18. ผลกระทบใกล้ตัว • พลังงานหมดไป ... พลังงานแพงขึ้น • สินค้าแพงขึ้น • สงครามจากการแย่งชิงพลังงาน • โลกร้อนขึ้น.....เปิดแอร์มากขึ้น..... โลกยิ่งร้อนขึ้น...ยิ่งเปิดแอร์มากขึ้น • ตอนเราเรียนหนังสือน้ำมันลิตรละเท่าไร ? จำได้ไหม ? • ทรัพยากรทางทะเลลดลง • ป่าไม้ลดลง (เพราะไฟป่ามากขึ้น)

  19. ทางเลือกสุดท้ายหากคุณลดการใช้น้ำมันไม่ได้ทางเลือกสุดท้ายหากคุณลดการใช้น้ำมันไม่ได้

  20. สถานการณ์ด้านพลังงานประเทศไทยสถานการณ์ด้านพลังงานประเทศไทย • ประเทศไทยเป็นผู้ซื้อพลังงาน • ขาดความสนใจด้านการประหยัดเพราะไม่ทราบข้อมูล

  21. ทำไมส่วนราชการจึงต้องลดการใช้พลังงานทำไมส่วนราชการจึงต้องลดการใช้พลังงาน ดังนั้น จึงเป็นหน้าที่ของคนไทยทุกคนที่จะต้องลดการใช้พลังงาน

  22. คำถาม • พลังงานจะหมดจากโลกนี้เมื่อไหร่ • พวกเราจะเป็นอย่างไร • พวกเราช่วยเหลืออะไรได้บ้าง

  23. คำตอบ • น้ำมัน .... น่าจะอีก 40 ปี • ใช้ของแพงขึ้น ชีวิตไม่สะดวกเท่าปัจจุบัน • ประหยัด, ใช้ทรัพยากรให้คุ้มค่าและฉลาดใช้

  24. จิตสำนึก เกิดได้อย่างไร ? • การมีข้อมูลที่ถูกต้อง • การเข้าใจการทำงานของธรรมชาติ • การมองการณ์ไกล • ความเชื่อมั่นในความสามารถตนเอง

  25. ใช้ของให้คุ้มค่าทำอย่างไรใช้ของให้คุ้มค่าทำอย่างไร ช่วยคิดหน่อย

  26. หลักการพิจารณา สัดส่วนพลังงานที่ใช้ในอาคาร

  27. หลักการพิจารณา ลักษณะการทำงานของอุปกรณ์ไฟฟ้า ทำงานอย่างต่อเนื่อง หลอดไฟ พัดลม อุปกรณ์ที่ไม่มีตัวตัดการทำงาน ทำงานเป็นช่วงๆ แอร์ กาต้มน้ำ กะทะไฟฟ้า เตารีด เครื่องทำน้ำอุ่น ตัวตัดการทำงาน จะตัดหรือไม่ ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิขณะนั้นๆ ...

  28. พฤติกรรมการใช้พลังงานที่ดีพฤติกรรมการใช้พลังงานที่ดี เครื่องปรับอากาศ ปิดเมื่อไม่ใช้งาน เปิดแอร์ตอน 9:00 หรือ 9:30 ปิดแอร์ตอนพักเที่ยง และก่อนเลิกงาน 15 นาที ล้างใหญ่ 6 เดือนครั้ง ล้างแผ่นกรองอากาศเดือนละครั้ง

  29. 2 1 3 7 1 4 4 2 5 3 ปรับแอร์ที่ 20 องศา กับที่ 25 องศา แบบไหนเย็นเร็วกว่ากัน ? 6

  30. หลักการพิจารณา เครื่องปรับอากาศ พิจารณาจาก ค่าประสิทธิภาพ (EER : Energy Efficiency Ratio) EER =ความสามารถในการทำความเย็นของเครื่องปรับอากาศ(BTUต่อชั่วโมง) พลังไฟฟ้าของเครื่องปรับอากาศ (Watt) EER ยิ่งสูงยิ่งดี หมายเหตุ :1 ตันความเย็น = 12,000 BTU ต่อชั่วโมง)

  31. เปรียบเทียบฉลากประหยัดไฟกับค่า EER

  32. หลักการพิจารณา เครื่องปรับอากาศ หรือ เลือกเครื่องปรับอากาศที่มีระบบระบายความร้อนที่ดีกว่า มีคอยล์ร้อน (Condensing Unit) ใหญ่ หรือ เลือกใช้ Electronic Thermostat

  33. หลักการพิจารณา เครื่องปรับอากาศ สิ่งสำคัญที่สุด คือขนาดของเครื่องปรับอากาศต้องเหมาะสมกับขนาดพื้นที่ใช้งานของห้อง และภาระความร้อนความชื้นในห้องนั้นๆ มวลอากาศเย็นทีเครื่องปรับอากาศทำได้มีค่าเป็นตัวเงิน

  34. หลักการพิจารณา เครื่องปรับอากาศ ขนาดเครื่องปรับอากาศที่เหมาะสมที่ความสูงห้องไม่เกิน 3 เมตร

  35. พฤติกรรมการใช้พลังงานที่ดีพฤติกรรมการใช้พลังงานที่ดี

  36. พฤติกรรมการใช้พลังงานที่ดีพฤติกรรมการใช้พลังงานที่ดี

  37. พฤติกรรมการใช้พลังงานที่ดีพฤติกรรมการใช้พลังงานที่ดี เครื่องปรับอากาศ

  38. พฤติกรรมการใช้พลังงานที่ดีพฤติกรรมการใช้พลังงานที่ดี เครื่องปรับอากาศ

  39. มาตรการตัวอย่าง หลังปรับปรุง ก่อนปรับปรุง

  40. มาตรการตัวอย่าง หลังปรับปรุง ก่อนปรับปรุง

  41. หลักการพิจารณา อุปกรณ์ไฟฟ้าแสงสว่าง อุปกรณ์หลักของระบบแสงสว่างที่ใช้ในอาคารและที่อยู่อาศัย สามารถแยกออกเป็นประเภทได้ดังนี้ • หลอดไฟ • บัลลาสต์ • โคมไฟ • การควบคุม

  42. หลักการพิจารณา อุปกรณ์ไฟฟ้าแสงสว่าง ชนิดของหลอดไฟ ก. หลักการเผาไส้ให้ร้อน (Incandescent ) • หลอดไส้ทังสเตน (Tungsten Filament) • ประสิทธิภาพต่ำ 95% ของพลังงานสูญเสียไปกับความร้อน • อายุการใช้งานสั้นประมาณ 1,000 ชั่วโมง. • ขนาดกำลังไฟสูงสุด 300 วัตต์ โดยทั่วไป 150 วัตต์ • หลอดไส้ทังสเตนฮาโลเจน (Tungsten Halogen) • เหมาะสำหรับการใช้เฉพาะที่หรือที่มีพื้นที่กว้าง (Floodlighting) • และใช้แสงสว่างน้อยกว่า 300 ชั่วโมงต่อปีหรือมีการเปิด-ปิดไฟบ่อยครั้ง

  43. หลักการพิจารณา อุปกรณ์ไฟฟ้าแสงสว่าง ชนิดของหลอดไฟ ข.หลักการปล่อยประจุในก๊าซ • ฟลูออเรสเซนต์ (Fluorescent) • ให้แสง 80% ความร้อน 20% • หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์ (หลอดประหยัดไฟ)

  44. หลักการพิจารณา อุปกรณ์ไฟฟ้าแสงสว่าง เลือกใช้หลอดไฟที่มีประสิทธิผลการส่องสว่างสูง ลูเมน (Lumen) วัตต์ (Watt) ความสว่างที่โต๊ะทำงานควรเป็น 300-400 Lux พิจารณาจากตารางแสดงคุณสมบัติของหลอดไฟ

  45. หลักการพิจารณา อุปกรณ์ไฟฟ้าแสงสว่าง เลือกใช้ โคมไฟประสิทธิภาพสูง หรือ โคมสะท้อนแสง(Reflector)

  46. หลักการพิจารณา อุปกรณ์ไฟฟ้าแสงสว่าง กำลังสูญเสียของบัลลาสต์แกนเหล็กเท่ากับ 9-12 วัตต์ สำหรับหลอดฟลูออเรสเซนต์ ขนาด 36 วัตต์ เลือกใช้บัลลาสต์ประหยัดพลังงาน บัลลาสต์กำลังสูญเสียต่ำ (Low Loss Ballast) บัลลาสต์อิเลกทรอนิคส์(Electronic Ballast) สูญเสียพลังงานน้อยเพียง 5 วัตต์ ชนิด Super Low Loss จะสูญเสียพลังงานเพียง 3.2 วัตต์ สูญเสียพลังงานเพียง 2 วัตต์ และช่วยเพิ่มอายุของหลอดไฟถึง 50%

  47. พฤติกรรมการใช้พลังงานที่ดีพฤติกรรมการใช้พลังงานที่ดี แสงสว่าง ปิดเมื่อไม่ใช้

  48. พฤติกรรมการใช้พลังงานที่ดีพฤติกรรมการใช้พลังงานที่ดี แสงสว่าง ปิดส่วนที่ไม่จำเป็น

  49. พฤติกรรมการใช้พลังงานที่ดีพฤติกรรมการใช้พลังงานที่ดี อุปกรณ์ไฟฟ้าแสงสว่าง • บำรุงรักษาอยู่เสมอ

  50. พฤติกรรมการใช้พลังงานที่ดีพฤติกรรมการใช้พลังงานที่ดี สำนักงานและอื่นๆ ปิด/ถอดปลั๊กเมื่อเลิกใช้งาน

More Related