1 / 36

Marketing and International Trade of Grains

Marketing and International Trade of Grains. Objectives: เพื่อศึกษาระบบการตลาดและการค้าเมล็ดพืชอาหารของไทย เพื่อศึกษากฎเกณฑ์ทางการค้า และสนธิสัญญาระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับระบบการค้าขายเมล็ดพืชอาหาร. ผลผลิตข้าวเปลือกของไทย. หน่วย : ล้านตันข้าวเปลือก. ที่มา สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร.

gabriella
Download Presentation

Marketing and International Trade of Grains

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Marketing and International Trade of Grains • Objectives: • เพื่อศึกษาระบบการตลาดและการค้าเมล็ดพืชอาหารของไทย • เพื่อศึกษากฎเกณฑ์ทางการค้า และสนธิสัญญาระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับระบบการค้าขายเมล็ดพืชอาหาร

  2. ผลผลิตข้าวเปลือกของไทยผลผลิตข้าวเปลือกของไทย หน่วย : ล้านตันข้าวเปลือก ที่มา สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

  3. ตลาดข้าวของไทยแบ่งตามลักษณะกระบวนการแปรรูปเบื้องต้นตลาดข้าวของไทยแบ่งตามลักษณะกระบวนการแปรรูปเบื้องต้น Rice (Paddy) Brown Rice Milled Rice Organic rice

  4. ตลาดข้าวสารของไทย แบ่งตามคุณภาพข้าวได้ 4 ระดับคือ - คุณภาพสูง - คุณภาพกลาง - คุณภาพต่ำ - ปลายข้าว ข้าวอินทรีย์

  5. ตลาดข้าวเพื่อการส่งออกตลาดข้าวเพื่อการส่งออก Paddy (Rice) Milled Rice Brown Rice ปริมาณการส่งออกข้าวนึ่งร้อยละ 11.2-22.18 ของปริมาณการส่งออกข้าวทั้งหมด Parboiled Rice Organic rice Parboiled Rice Milled Rice

  6. ระบบการซื้อ-ขายข้าวเปลือกของไทยระบบการซื้อ-ขายข้าวเปลือกของไทย • เกษตรกร • จำหน่ายล่วงหน้าให้กับพ่อค้า • จำหน่ายโดยตรงให้กับพ่อค้าภายหลังการเก็บเกี่ยว • รวมกลุ่มเพื่อจำหน่ายโดยตรง เช่น กลุ่มผู้ผลิตข้าวสุรินทร์ • จำนำกับ ธกส • จำนำกับหน่วยงานที่เข้าร่วมโครงการรับจำนำข้าวเปลือกกับรัฐบาล

  7. Marketing Systemin Thailand Persons engage in marketing system in Thailand • Farmers • Local collector 3. Factories 4. Brokers 5. Exporters

  8. ระบบการค้าข้าวเปลือกของไทยระบบการค้าข้าวเปลือกของไทย เกษตรกร กลุ่มสหกรณ์ ผู้รวบรวมท้องถิ่น กทม. ธนาคารรับจำนำ ผู้รวบรวมจังหวัด โรงอบแห้งข้าวเปลือก โรงสีข้าว โปรเกอร์ ตลาดกลาง International Broker ตลาดภายใน ปท Rice Milled Rice Brown Rice Parboiled Rice International Market โรงอาหารสัตว์ โรงงานสกัดน้ำมัน ตะวันออกกลาง เอเซีย ยุโรป อเมริกา

  9. ตลาดข้าวของไทยในต่างประเทศแบ่งตามลักษณะ กระบวนการแปรรูปเบื้องต้น แบ่งตามลักษณะกระบวนการแปรรูปเบื้องต้น Rice (Paddy): Indonesia, Middle-east (Saudi-arebia, Arab Amerest) Brown Rice : ยุโรป อเมริกา Milled Rice : China, Middle-east Parboiled Rice : Middle-east, Africa and Asia Organic rice:ยุโรป อเมริกา

  10. Parboiled Rice ปริมาณการส่งอออกข้าวนึ่งของไทย (www.doa.go.th /rri/tech/m6_3-2.htm, ประเทศที่นำเข้า ทวีปอัฟริกา และตะวันออกกลาง เช่น ไนจีเรีย ซาอุดิอาระเบีย เยเมน เป็นต้น เอเซีย เช่น บังคลาเทศ และศรีลังกา ยุโรป เช่น อิตาลี เยอรมนี ฝรั่งเศส ประเทศสหรัฐอเมริกา

  11. International Trade กฎเกณฑ์ทางการค้าและภาษี เกิดจากการรวมตัวและตกลงร่วมกัน และเป็นปัจจัยภายนอก ต่อการส่งออกและเศรษฐกิจของไทยที่สำคัญ ๆ ได้แก่ 1. European Union (EU) ในปี 2500 (1957) ประเทศ 6 ประเทศ ได้แก่ เบลเยี่ยม ลักเซ็มเบอร์ก เนเธอร์แลนด์ ฝรั่งเศส เยอรมันี และอิตาลี เพื่อมุ่งการค้าเสรีในกลุ่มต่อรองทางการค้ากับประเทศคู่ค้าอื่น

  12. ผลกระทบต่อการค้าขาย ผลิตผลเกษตรของไทย - การจำกัดโควต้า - การให้สิทธิพิเศษกับบางประเทศ - การเก็บภาษีตอบโต้การทุ่มตลาด - การอุดหนุนสินค้าหลายชนิด - การออกข้อกำหนดเพื่อรักษาคุณภาพ มาตรฐานสินค้าของไทย สิ่งแวดล้อม สิทธิมนุษยชน

  13. 2. ระบบ GSP (Gerneralized System of Preferences) ระบบที่ให้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็นการทั่วไปที่ประเทศพัฒนาแล้วมีให้แก่สินค้าที่มีแหล่งกำเนิดในประเทศกำลังพัณนา โดยการยกเว้นหรือลดหย่อนอากรขาเข้าแก่สินค้าบางชนิด การประชุมของ UNCTAD (คณะกรรมการการค้าและพัฒนาแห่งสหประชาชาติ) ครั้งที่ 2 เมื่อปี 2507 ที่ประเทศอินเดีย

  14. 27 ประเทศ โดยมีสหรัฐ เป็นประเทศหนึ่งที่ให้สิทธินี้ ระบบ GSP มีผลต่อการส่งออกสินค้าบางอย่างของไทย ในช่วง 2519-2530 ปัจจุบันสหรัฐอเมริกาต้องการยกเลิก หรือใช้การออก พรบ. ช่วยเหลือเกษตรกรของตนเองเพื่อลดต้นทุนการผลิต 2546/47 ออก Farm Bill

  15. 3. ข้อตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีอากร General Agreement on Tariffs and Trade - GATT ประเทศไทยเข้าร่วมเป็นสมาชิกแกตต์ ตั้งแต่ปี 2525 แกตต์เป็นเวทีเจรจาการค้าระหว่างประเทศ เพื่อการขยายตัวของเศษรฐกิจโลก และการเปิดตลาดเสรี

  16. แต่พบว่าข้อตกลงเอื้อประโยชน์ต่อประเทศที่พัฒนาแล้วมากกว่าแต่พบว่าข้อตกลงเอื้อประโยชน์ต่อประเทศที่พัฒนาแล้วมากกว่า การเจราที่อุรุกวัย เมื่อปี 2536 มีผลกระทบมากต่อสินค้าเกษตร คือ สินค้าเกษตรจะต้องลดภาษีศุลกากร มีการปรับมาตรการกีดกันเป็นมาตรการค้า ลดการอุดหนุนการส่งออก ระเบียบสุขอนามัย ต้องให้ยึดมาตรฐานสากล

  17. การคุ้มครองสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา ประเทศสมาชิก ต้องเปิดเสรีทางการค้า บริการ และการลงทุนโดยเสมอภาค พืชที่มีปัญหา ได้แก่ มันสำปะหลัง

  18. 4. องค์กรการค้าโลก (World trade Organization-WTO) ยกฐานะมาจากแกตต์ ทำหน้าที่เป็นองค์การ การค้าโลกมีหน้าที่บริหาร ดำเนินการและวางกลไกเพื่อให้ประเทศ สมาชิกปฏิบัติตามบทบัญญัติของความตกลงต่าง ๆ และให้ความสอดคล้องในการวางนโยบายเศรษฐกิจร่วมกัน

  19. เงื่อนไขข้อตกลงของ WTO 1) ให้ประเทศต่างๆ เปิดตลาดสินค้าเกษตรอย่างเสรี 2) ให้ประเทศสมาชิกลดภาษีนำเข้าสินค้าเกษตรใน 23 รายการที่กำหนด 3) ให้ประเทศสมาชิกลดงบประมาณการอุดหนุนภาคการเกษตร และ 4) ให้ประเทศสมาชิกลดงบประมาณการอุดหนุนการส่งสินค้าเกษตร

  20. ข้อตกลงทั้งหมด เป็นข้อตกลงที่ละเมิดสิทธิอธิปไตยของประเทศ โดยเฉพาะประเทศไทยที่มีอาชีพเกษตรกรรมเป็นอาชีพหลัก แต่ WTO กลับสั่งห้ามรัฐบาลเข้าช่วยเหลือเกษตรกร ที่มักประสบกับภาวะยากไร้และราคาผลผลิตตกต่ำ

  21. ผลกระทบเชิงลบที่ชัดเจน ในเรื่องการเปิดเสรีการค้าที่ให้ต่างชาติเข้ามาแข่งขัน • การเงินการธนาคาร • - การค้าปลีกที่ให้บริษัทข้ามชาติเข้ามาลงทุน

  22. 5. กลุ่มความรวมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก (Asia-Pacific Economic Co-operation-APEC) รวมกลุ่มในระดับภูมิภาคเพื่อสร้างอำนาจต่อรองทางเศรษฐกิจ ให้ประเทศสมาชิก และเป็นตลาดพื้นฐานที่รองรับการค้าและความร่วมมือระหว่างกัน - การค้า - ลงทุนเศรษฐกิจ - การถ่ายทอดเทคโนโลยี - การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ประชุมล่าสุดที่ ออสเตรเลีย ยังไม่มีประเด็นที่สำคัญ มากไปกว่าการเร่งในมีการเลือกตั้งในไทย

  23. 2532 ประเทศในกลุ่ม APEC 18 ประเทศ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ เกาหลีใต้ เม็กซิโก ปาปัวนิวกินี จีน ฮ่องกง ไต้หวัน ชิลี มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ไทย ฟิลิปปินส์ บรูไน

  24. 6) เขตกาค้าเสรีอาเซียน (Asean Free Trade Area-AFTA) ปี 2534 6 ประเทศร่วมกัน ไทย มาเลเซีย สิงค์โปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปินส์ และบรูไน

  25. 7) เขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือ (North American Free trade Area- NAFTA) การรวมตัวของ 3 ประเทศ ในปี 2537 คือ สหรัฐ แคนาดา และเม็กซิโก เพื่อขจัดอุปสรรค การกีดกันการไหลเวียนของสินค้าและบริการระหว่างประเทศทั้งสาม ผลกระทบต่อไทย คือ ทำให้เป็นตลาดที่ใหญ่ที่สุดของไทย ความจำเป็นที่จะต้องปรับตัวทั้งทางภาครัฐและเอกชน เพื่อการส่งออก

  26. Ayerawady-Choaphraya-Mekong Economic Strategt (ACMECS)(ยุทธศาสตร์ความร่วมมือเศรษฐกิจอิรวดี-เจ้าพระยา-แม่โขง) 4 ประเทศ พม่า ไทย ลาว และกัมพูชา (23 มีนาคม 2548) ยกระดับการผลิตภาคเกษตร และการสนับสนุนการลงทุน Contract farming การประชุมล่าสุด

  27. การนำเข้าสินค้าเกษตรจากเพื่อนบ้านการนำเข้าสินค้าเกษตรจากเพื่อนบ้าน • เมล็ดข้าวโพด (2 แสนตัน) จากลาว และกัมพูชา • ถั่วเหลือง (2 แสนตัน) • 3. มันสำปะหลัง เพื่อผลิตเอทานอล 4 ล้าตัน มันสด • 4. ละหุ่ง 6 หมื่นตัน • 5. ปาลม์ ผลิตไบโอดีเซล ต้องการพื้นที่ปลูกในประเทศเพื่อนบ้าน 1 ล้านไร่

  28. Free trade Area (FTA) • ยุคล่าอาณานิคม แบบใช้กำลัง • ยุคล่าอาณานิคมที่ใช้เงิน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549) สิ้นสุดลง ฉ 10 พ.ศ. 2550-2555 http://drought.unl.edu/dm/ http://drought.unl.edu/dm/monitor.html

  29. การพัฒนาการส่งออกผลผลิตเกษตร (ข้าว) 1. กำหนดเป้าหมายการผลิตก่อนฤดูปลูก 2. กำหนดขอบเขตการผลิต 3. พัฒนารูปแบบการส่งออกและจัดจำหน่าย Marketing & Quality Control 4. พัฒนาตลาด-ส่งออก: - กฎหมาย ระเบียบ การขนส่งภายใน 5. การควบคุมคุณภาพการผลิต Postharvest Packaging Quality 6. การส่งเสริมการผลิตตามระบบเกษตรอินทรีย์ 7. การแปรรูปผลิตภัณฑ์เบื้องต้น

  30. คำถาม • การซื้อขายข้าวเปลือกในประเทศมีลักษณะอย่างไร • การซื้อ-ขายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มีการซื้อขายอย่างไร • 3. ท่านคิดว่าการแข่งขันการส่งออกข้าวของไทยควรมีแนวทางอย่างไร 4. ข้อกำหนดและสนธิสัญญาที่มีผลต่อการค้า-ขายเมล็ดพืชอาหารของไทยอย่างไร 5. ท่านคิดว่า การเจรจา ตามแบบ FTA กับการ WTO แตกต่างกันอย่างไร 6. ในยุคข้อมูลข่าวสาร และการกีดกันทางการค้า ท่านมีแนวทางในการเพิ่มปริมาณการส่งออกข้าวของไทยให้มีกำไรสูงสุดอย่างไร 7. ประเทศที่นำเข้าสินค้าเมล็ดพืชอาหารจากไทยในปริมาณสูงมีประเทศไหนบ้างบอกมา 3 ชื่อ

  31. Marketing Marketing systemin Thailand International trade http://drought.unl.edu/dm/ http://drought.unl.edu/dm/monitor.html

  32. ระบบการค้าข้าวโพดของไทยระบบการค้าข้าวโพดของไทย เกษตรกร ผู้รวบรวมท้องถิ่น กทม. ผู้รวบรวมจังหวัด โปรเกอร์ International Broker ตลาดภายใน ปท International Market โรงอาหารสัตว์ โรงงานสกัดน้ำมัน ตะวันออกกลาง เอเซีย ยุโรป อเมริกา

  33. ตลาดข้าวไทย โลก P ของไทย จีน Y ของไทย 14.093 21,818 928 347 14.915 21,400 936 354 16.340 19,200 933 373 20.850 19,917 990 378

  34. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549) กำลังจะสิ้นสุดลง ฉ 10 พ.ศ. 2550-2555 http://drought.unl.edu/dm/ http://drought.unl.edu/dm/monitor.html

  35. EXPORT SWEET CORN CANED 28277 MT. =793 M.B. JAN-MAY http://www.seed.or.th/SeedNews/Vol106/10-601.htm

  36. คำถาม • ข้าวไทยส่งออกในรูปแบบใดบ้าง • กฎบัตร สนธิสัญญา หรือ อื่น ๆ ระหว่างประเทศหรือนานาชาติ ที่ประเทศไทย ต้องปฏิบัติตามมีผลต่อการส่งออกข้าวของไทยอย่างไรบ้าง • ประเทศที่นำเข้าข้าวของไทยมากที่สุดมีประเทศใดบ้าง บอกมา 2 ชื่อ Brown Rice ประเทศที่นำเข้า

More Related